ศิลปะสกัดหินในวัลกาโมนีกา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ศิลปะสกัดหินในวัลกาโมนีกา *
  แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
ศิลปะสกัดหินที่นาโดร
ประเทศธงของประเทศอิตาลี อิตาลี
ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม
เกณฑ์พิจารณาiii, vi
ประวัติการขึ้นทะเบียน
ขึ้นทะเบียน2522 (คณะกรรมการสมัยที่ 3)
* ชื่อตามที่ได้ขึ้นทะเบียนในบัญชีแหล่งมรดกโลก
** ภูมิภาคที่จัดแบ่งโดยยูเนสโก

ศิลปะสกัดหินในวัลกาโมนีกา (อิตาลี: Incisioni rupestri della Val Camonica) งานสลักหินแห่งหุบเขากาโมนีกาเป็นกลุ่มงานศิลปะสกัดหินยุคก่อนประวัติศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในโลก[1] และเป็นสถานที่แรกที่องค์การยูเนสโกพิจารณาเลือกให้เป็นมรดกโลกของอิตาลีในปี ค.ศ. 1979

องค์การยูเนสโกยอมรับคุณค่าของงานกว่า 140,000 ชิ้นในบริเวณนี้[1] แต่ก็ยังมีการพบงานเพิ่มขึ้นจนจำนวนภาพทั้งหมดที่ได้รับการบันทึกเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนถึง 200,000 ภาพ[2] หรืออาจจะถึง 300,000 ภาพก็เป็นได้[3] ศิลปะสกัดหินทำกันทุกหนทุกแห่งที่มีผาในหุบเขา แต่ที่พบมากอยู่ในบริเวณดาร์โฟโบอารีโอแตร์เม, กาโปดีปอนเต, นาโดร, ชิมแบร์โก และปัสปาร์โด

อุทยานศิลปะสกัดหิน[แก้]

# ชื่อ เมือง พิกัด ศิลปะสกัดหิน
1. อุทยานแห่งชาติศิลปะสกัดหินแห่งนากวาเน กาโปดีปอนเต 46°01′32″N 10°20′57″E / 46.02556°N 10.34917°E / 46.02556; 10.34917
2. อุทยานโบราณคดีแห่งชาติมัสซีแห่งเชมโม กาโปดีปอนเต 46°01′52″N 10°20′20″E / 46.03111°N 10.33889°E / 46.03111; 10.33889
3. อุทยานโบราณคดีแห่งเซราดีนา-เบโดลีนา กาโปดีปอนเต 46°02′00″N 10°20′29″E / 46.03333°N 10.34139°E / 46.03333; 10.34139
4. อุทยานโบราณคดีแห่งอาซีนีโน-อันวอยา ออสซีโม 45°57′19″N 10°14′47″E / 45.95528°N 10.24639°E / 45.95528; 10.24639
5. อุทยานสาธารณะแห่งศิลปะสกัดหินแห่งลุยเน ดาร์โฟโบอารีโอแตร์เม 45°53′20″N 10°10′46″E / 45.88889°N 10.17944°E / 45.88889; 10.17944
6. อุทยานโบราณคดีแห่งเซลเลโร เซลเลโร 46°03′26″N 10°20′29″E / 46.05722°N 10.34139°E / 46.05722; 10.34139
7. อุทยานโบราณคดีแห่งโซนีโก โซนีโก 46°10′7″N 10°21′20″E / 46.16861°N 10.35556°E / 46.16861; 10.35556
8. Riserva naturale Incisioni rupestri di Ceto, Cimbergo e Paspardo เชโต (นาโดร)
ชิมแบร์โก
ปัสปาร์โด
46°01′6″N 10°21′10″E / 46.01833°N 10.35278°E / 46.01833; 10.35278

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "File Unesco". สืบค้นเมื่อ May 11, 2009.
  2. Piero Adorno, Mesolitico e Neolitico, p. 16.
  3. "Introduzione all'arte rupestre della Valcamonica su Archeocamuni.it" (ภาษาอิตาลี). สืบค้นเมื่อ May 11, 2009.

บรรณานุกรม[แก้]

  • Emanuele Süss, Rock Carvings in the Valcamonica, 1954.
  • Emmanuel Anati, Camonica Valley: A Depiction of Village in the Alps From Neolithic Times to the Birth of Christ as Revealed by Thousands of Newly found Rock Carvings, 1961.
  • Emmanuel Anati, Evolution and style in Camunian rock art: An inquiry into the formation of European civilization, 1976.
  • Emmanuel Anati, I Camuni, 1982.
  • Emmanuel Anati, Valcamonica rock art: A new history for Europe, 1994.
  • The intellectual expressions of prehistoric man, art, and religion, Acts of the Valcamonica Symposium, 1979.

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ศิลปะสกัดหินในวัลกาโมนีกา