ลักษิกา คำขำ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ลักษิกา คำขำ
ประเทศ (กีฬา) ไทย
ถิ่นพำนักจังหวัดจันทบุรี ประเทศไทย
วันเกิด21 กรกฎาคม พ.ศ. 2536 (30 ปี)
จังหวัดจันทบุรี ประเทศไทย
ส่วนสูง1.67 m (5 ft 6 in)
การเล่นถนัดขวา (ใช้มือทั้งสองข้าง)
เงินรางวัล1,159,997 ดอลลาร์สหรัฐ
เดี่ยว
สถิติอาชีพ353–177
รายการอาชีพที่ชนะ0 WTA 125K, 15 ITF
อันดับสูงสุด66 (19 พฤศจิกายน 2018)
อันดับปัจจุบัน333 (14 พฤศจิกายน 2022)
ผลแกรนด์สแลมเดี่ยว
ออสเตรเลียนโอเพน3R (2018)
เฟรนช์โอเพน1R (2014, 2018)
วิมเบิลดัน2R (2018)
ยูเอสโอเพนQ2 (2014)
คู่
สถิติอาชีพ80–54
รายการอาชีพที่ชนะ0 WTA, 12 ITF
อันดับสูงสุดNo. 86 (16 กรกฎาคม 2018)
อันดับปัจจุบันNo. 96 (14 มกราคม 2019)
ผลแกรนด์สแลมคู่
ออสเตรเลียนโอเพน1R (2019)
วิมเบิลดัน
วิมเบิลดันจูเนียร์1R (2010)
อัปเดตล่าสุดเมื่อ: 18 พฤศจิกายน 2022
สถิติเหรียญโอลิมปิก
เทนนิส
เอเชียนเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ อินชอน 2014 หญิงคู่
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ อินชอน 2014 หญิงเดี่ยว
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ จาการ์ตา-ปาเล็มบัง 2018 คู่ผสม
ซีเกมส์
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2015 สิงค์โปร์ ทีมหญิง
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2017 กัวลาลัมเปอร์ หญิงเดี่ยว
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2021 เวียดนาม หญิงเดี่ยว
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2021 เวียดนาม ทีมหญิง
เหรียญทอง - ชนะเลิศ 2023 พนมเปญ หญิงคู่
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2017 กัวลาลัมเปอร์ หญิงคู่
เหรียญเงิน - รองชนะเลิศ 2023 พนมเปญ ทีมหญิง
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2021 เวียดนาม คู่ผสม
เหรียญทองแดง - อันดับที่ 3 2023 พนมเปญ คู่ผสม

ลักษิกา คำขำ (ชื่อเล่น:; เกิด: 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2536) เป็นนักเทนนิสชาวไทย อันดับสูงสุดของเทนนิสเยาวชนโลก คือ อันดับ 50 ในวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2553 เธอได้จับคู่กับ Eugenie Bouchard นักเทนนิสเยาวชนชาวแคนาดา และเข้ารอบรองชนะเลิศในรายการเทนนิสเยาวชนหญิงคู่ของเทนนิสออสเตรเลียนโอเพน

ลักษิกา คำขำ สามารถสร้างผลงานเป็นที่ฮือฮา จากการแข่งขันเทนนิสออสเตรเลียนโอเพน 2014 ประเภทหญิงเดี่ยว รอบแรก ด้วยการเป็นฝ่ายชนะเปตรา ควิโตวา นักเทนนิสจากสาธารณรัฐเช็ก ผู้เป็นมือวางอันดับ 6 ของโลก[1][2]

ในการแข่งขันเอเชียนเกมส์ 2014 ที่อินชอน ประเทศเกาหลีใต้ ลักษิกาสามารถทำได้ 1 เหรียญทองในประเภทหญิงคู่ เมื่อจับคู่กับ แทมมารีน ธนสุกาญจน์ และ 1 เหรียญเงินในประเภทหญิงเดี่ยว

รางวัลที่ได้รับ[แก้]

  • พ.ศ. 2558 - รางวัลนักกีฬาหญิงที่ได้รับการกล่าวถึงมากที่สุดในรอบปีที่ผ่านมา (MThai Top Talk-About Sportswomen)[3]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 'ลักษิกา' ตามรอย 'แทมมี่' โค่นมือท็อป10-แชมป์แกรนด์สแลม - ข่าวไทยรัฐ
  2. กระหึ่ม!น้องลักคว่ำมือ 6 โลก โนเล่ยังฉลุย-วีนัสพลิกร่วง
  3. "บทสรุป!! นักกีฬาชาย-หญิง ที่ถูกพูดถึงมากสุด MThai Top Talk-About 2015". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-03-15. สืบค้นเมื่อ 2015-03-13.
  4. ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่สรรเสริญยิ่งดิเรกคุณาภรณ์ ประจำปี ๒๕๖๖, เล่ม ๑๔๐ ตอนพิเศษ ๕ ข หน้า ๒๓, ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๖