รายชื่อองค์การมหาชน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

นี่คือ รายชื่อองค์การมหาชนในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ องค์การมหาชนที่จัดตั้งตามพระราชบัญญัติองค์การมหาชน พ.ศ. 2542 และองค์การมหาชนที่จัดตั้งตามพระราชบัญญัติเฉพาะ ดังนี้

จัดตั้งตามพระราชบัญญัติองค์การมหาชน[แก้]

สำนักนายกรัฐมนตรี[แก้]

กระทรวงกลาโหม[แก้]

กระทรวงการคลัง[แก้]

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์[แก้]

  • สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) เป็นองค์การมหาชนแห่งแรกของไทย จัดตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2543 ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง[1] ต่อมาในปี พ.ศ. 2545 จึงได้โอนมาอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์[แก้]

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม[แก้]

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม[แก้]

กระทรวงพาณิชย์[แก้]

กระทรวงยุติธรรม[แก้]

กระทรวงแรงงาน[แก้]

กระทรวงวัฒนธรรม[แก้]

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม[แก้]

กระทรวงศึกษาธิการ[แก้]

กระทรวงสาธารณสุข[แก้]

กระทรวงคมนาคม[แก้]

จัดตั้งตามพระราชบัญญัติเฉพาะ[แก้]

  1. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม)
  2. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สำนักนายกรัฐมนตรี)
  3. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (กระทรวงสาธารณสุข)
  4. สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ (กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม)
  5. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (กระทรวงศึกษาธิการ)
  6. สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี)
  7. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี)
  8. สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (กระทรวงสาธารณสุข)
  9. คุรุสภา (กระทรวงศึกษาธิการ)
  10. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษา (กระทรวงศึกษาธิการ)
  11. สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ (ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี)
  12. สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี)
  13. สถาบันอนุญาโตตุลาการ (กระทรวงยุติธรรม)
  14. สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม)
  15. สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (กระทรวงสาธารณสุข)
  16. สำนักงานกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์ (กระทรวงวัฒนธรรม)
  17. สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (เดิม สำนักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน))(กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม)
  18. สถาบันวัคซีนแห่งชาติ (กระทรวงสาธารณสุข)
  19. สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ (กระทรวงกลาโหม)[7]
  20. สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม (อยู่ในกำกับนายกรัฐมนตรี)[8]
  21. สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม)
  22. สำนักงานคณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์แห่งชาติ (กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม)
  23. สำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม)

อ้างอิง[แก้]

  1. "พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2543" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2011-11-25.
  2. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน) (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑
  3. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2554
  4. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (องค์การมหาชน) พ.ศ. ๒๕๕๘ เล่ม 132 ตอนที่ 43 ก หน้า 17 วันที่ 21 พฤษภาคม 2558
  5. พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๑
  6. "พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งโรงพยาบาลบ้านแพ้ว (องค์การมหาชน) พ.ศ. 2543" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2011-11-25.
  7. พระราชบัญญัติเทคโนโลยีป้องกันประเทศ พ.ศ. 2562
  8. พระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจเพื่อสังคม พ.ศ. 2562[ลิงก์เสีย]