รถไฟใต้ดินเดลี สายสีน้ำเงิน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
รถไฟใต้ดินเดลี สายสีน้ำเงิน
ข้อมูลทั่วไป
ปลายทาง
  • Noida City Centre
  • Dwarka Sector 9
จำนวนสถานีสายหลัก: 44
สายย่อย: 6
การดำเนินงาน
รูปแบบรถไฟใต้ดิน
ระบบรถไฟใต้ดินเดลี
ผู้ดำเนินงานDelhi Metro Rail Corporation
ประวัติ
เปิดเมื่อสายหลัก: 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548
สายย่อย: 6 มกราคม พ.ศ. 2553
ข้อมูลทางเทคนิค
ระยะทางสายหลัก: 50.56 กิโลเมตร (31.42 ไมล์)*,
สายย่อย: 6.25 กิโลเมตร (3.88 ไมล์)*
ลักษณะทางวิ่งใต้ดิน, เสมอระดับ, ยกระดับ
รางกว้างIndian gauge
ระบบจ่ายไฟ25 kV, 50 Hz AC through overhead catenary

รถไฟใต้ดินเดลี สายสีน้ำเงิน เป็นเส้นทางรถไฟฟ้าในกรุงเดลี มีจำนวน 44 สถานี จากสถานี Dwarka Sector 21 ไปสถานี Noida City Centre ระยะทาง 50.56 กิโลเมตร และมีสายย่อย จำนวน 8 สถานี จากสถานี Vaishali ไปยังสถานี Yamuna Bank ระยะทาง 6.25 กิโลเมตร[1]

รายชื่อ[แก้]

สายหลัก[แก้]

สายสีน้ำเงิน
# สถานี เปิดให้บริการ เชื่อมต่อ รูปแบบ
1 Noida City Centre नोएडा सिटी सेंटर 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 ไม่มี ยกระดับ
2 Noida Golf Course नोएडा गोल्फ कोर्स
3 Botanical Garden बॉटानिकल गार्डन
4 Noida Sector 18 नोएडा सेक्टर १८
5 Noida Sector 16 नोएडा सेक्टर १६
6 Noida Sector 15 नोएडा सेक्टर १५
7 New Ashok Nagar नया अशोक नगर
8 Mayur Vihar Extension मयूर विहार विस्तार
9 Mayur Vihar - I मयूर विहार-१
10 Akshardham अक्षरधाम
11 Yamuna Bank यमुना किनारा 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 สายสีน้ำเงิน สายย่อย ระดับดิน
12 Indraprastha इंद्रप्रस्थ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2549 ไม่มี ยกระดับ
13 Pragati Maidan प्रगति मैदान
14 Mandi House मंडी हाउस ใต้ดิน
15 ถนน Barakhambha बाराखम्भा मार्ग 31 ธันวาคม พ.ศ. 2548
16 Rajiv Chowk राजीव चौक สายสีเหลือง
17 Ramakrishna Ashram Marg रामकृष्ण आश्रम मार्ग ไม่มี ยกระดับ
18 Jhandewalan झंडेवालान
19 Karol Bagh करौल बाग
20 Rajendra Place राजेंद्र पैलेस
21 Patel Nagar पटेल नगर
22 Shadipur शादीपुर
23 Kirti Nagar कीर्ति नगर สายสีเขียว
24 Moti Nagar मोती नगर ไม่มี
25 Ramesh Nagar रमेश नगर
26 สวน Rajouri Garden राजौरी गार्डन
27 สวน Tagore Garden टैगोर गार्डन
28 Subhash Nagar सुभाष नगर
29 Tilak Nagar तिलक नगर
30 Janakpuri ตะวันออก जनकपुरी पूर्व
31 Janakpuri ตะวันตก जनकपुरी पश्चिम
32 Uttam Nagar ตะวันออก उत्तम नगर पूर्व
33 Uttam Nagar ตะวันตก उत्तम नगर पश्चिम
34 Nawada नवादा
35 Dwarka Mor द्वारका मोड़
36 Dwarka द्वारका
37 Dwarka Sector 14 द्वारका सैक्टर १४ 1 เมษายน พ.ศ. 2549
38 Dwarka Sector 13 द्वारका सैक्टर १३
39 Dwarka Sector 12 द्वारका सैक्टर १२
40 Dwarka Sector 11 द्वारका सैक्टर ११
41 Dwarka Sector 10 द्वारका सैक्टर १०
42 Dwarka Sector 9 द्वारका सैक्टर ९
43 Dwarka Sector 8 द्वारका सैक्टर ८ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2553
44 Dwarka Sector 21 द्वारका सैक्टर २१ สายท่าอากาศยาน ใต้ดิน

สายย่อย[แก้]

สายย่อย
# สถานี เปิดให้บริการ เชื่อมต่อ รูปแบบ
1 Yamuna Bank यमुना किनारा 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2552 สายสีน้ำเงิน สายหลัก ระดับดิน
2 Laxmi Nagar लक्ष्मी नगर 6 มกราคม พ.ศ. 2553[2] ไม่มี ยกระดับ
3 Nirman Vihar निर्माण विहार
4 Preet Vihar प्रीत विहार
5 Karkarduma कड़कड़ डूमा
6 Anand Vihar आनंद विहार Anand Vihar Terminal
, Anand Vihar ISBT
7 Kaushambi कौशाम्बी 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2554[3] ไม่มี
8 Vashali वैशाली

อ้างอิง[แก้]

  1. Sweta Dutta (2009-11-13). "Metro rolls into Noida". Indian Express.
  2. "Anand Vihar Metro line flagged off". Hindustan Times. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-06. สืบค้นเมื่อ 2009-06-01.
  3. "Day One: 30,000 hop on to Vaishali Metro". The Times Of India. July 15, 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-07-18. สืบค้นเมื่อ 2013-10-25.