ภาษาโสรา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาโสรา
Savara
𑃐𑃚𑃝, ସଉରା
คำว่า 'โสรา' ในอักษรโสรัง สมเป็ง
ภูมิภาคประเทศอินเดีย
ชาติพันธุ์ชาวโสรา
จำนวนผู้พูด409,549 คน, ร้อยละ 61 ของประชากรตามชาติพันธุ์  (2011 census)[1]
ตระกูลภาษา
ออสโตรเอเชียติก
  • มุนดา
    • ใต้
      • โสรา-โกรุม
        • ภาษาโสรา
ระบบการเขียนอักษรโสรัง สมเป็ง, อักษรโอริยา, อักษรละติน, อักษรเตลูกู
รหัสภาษา
ISO 639-3srb

ภาษาโสรา เป็นภาษากลุ่มมุนดาตอนใต้ในอินเดีย มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ 288,000 คน (2540) ในทางใต้ของรัฐโอริศา ที่อยู่ทางตะวันออกของอินเดีย แต่ก็มีที่รัฐอานธรประเทศ มัธยประเทศ พิหาร ทมิฬนาฑู เบงกอลตะวันตก และบางส่วนของรัฐอัสสัม เขียนด้วยอักษรเตลูกู อักษรละติน และอักษรโสรัง สมเป็งที่ประดิษฐ์เมื่อ พ.ศ. 2479 ทางยูเนสโกจัดให้ภาษานี้อยู่ในกลุ่ม 'เสี่ยงใกล้สูญ'[2]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Statement 1: Abstract of speakers' strength of languages and mother tongues - 2011". www.censusindia.gov.in. Office of the Registrar General & Census Commissioner, India. สืบค้นเมื่อ 2018-07-07.
  2. "Sora". UNESCO Atlas of the World's Languages in danger (ภาษาอังกฤษ). UNESCO. สืบค้นเมื่อ 2018-03-18.

อ่านเพิ่ม[แก้]

  • Hammarström, Harald; Forkel, Robert; Haspelmath, Martin; Bank, Sebastian, eds. (2016). "Sora". Glottolog 2.7. Jena: Max Planck Institute for the Science of Human History.
  • Ramamurti, R. S. (1931). A Manual of the Sora (Savara) Language. Delhi: Mittal Publication.
  • Veṅkaṭarāmamūrti, G. (1986). Sora–English dictionary. Delhi: Mittal Publication.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]