ภาษาโคกูรยอ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาโคกูรยอ
Koguryo
ประเทศที่มีการพูดอาณาจักรโคกูรยอ
ภูมิภาคแมนจูเรีย, ประเทศเกาหลี
สูญแล้วคริสต์ศตวรรษที่ 7–10?
ตระกูลภาษา
เกาหลี?
รหัสภาษา
ISO 639-3zkg
นักภาษาศาสตร์zkg
สามราชอาณาจักรเกาหลี โดยที่โคกูรยอกับพูยออยู่ในสีน้ำเงิน

ภาษาโครกูรยอ หรือ Koguryoan เป็นภาษาของอาณาจักรโคกูรยอ (37 ปีก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 668) หนึ่งในสามราชอาณาจักรเกาหลี. ประวัติศาสตร์จีนตอนต้นระบุว่าภาษานี้มีความคล้ายกับพูยอ, Okjeo และเย Lee Ki-Moon จัดสี่ภาษานี้เข้าในภาษากลุ่มพูยอ เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ยังระบุอีกว่าภาษาเหล่านี้มีความแตกต่างจากภาษาของชาว Yilou และ Mohe ภาษาทั้งหมดยังไม่มีรับรอง ยกเว้นโคกูรยอที่มีหลักฐานจำกัดและมีข้อโต้แย้ง[1]

หลักฐานอ้างอิงส่วนใหญ่คือชื่อสถานที่ใน Samguk sagi นักวิจัยส่วนใหญ่ในเกาหลี สันนิษฐานว่าชาวโคกูรยอพูดภาษาย่อยของภาษาเกาหลีเก่า โดยถือว่าเป็นคำเดียวกันกับภาษาเกาหลี ในขณะที่นักวิชาการบางส่วนเน้นความคล้ายกับตระกูลภาษาญี่ปุ่น[2] Lee และ Ramsey กล่าวแนะว่าภาษานี้อยู่ตรงกลางระหว่างสองตระกูล[3] นักเขียนบางส่วนกล่าวแนะว่าชื่อสถานที่เหล่านี้สะท้อนถึงภาษาของชนกลุ่มนี้ในเกาหลีตอนกลางที่โคกูรยอยึดได้ในคริสต์ศตวรรษที่ 5 แทนที่จะมาจากโคกูรยอเอง

ส่วนอีกหลักฐานหนึ่งนั้นน้อยมาก และจำกัดเฉพาะลักษณะเฉพาะในจารึกโคกูรยอภาษาจีน และศัพท์โคกูรยอเพียงไม่กี่คำที่ปรากฎในตำราภาษาจีน Vovin และ Unger กล่าวแนะว่าภาษานี้เป็นรูปเดิมของตระกูลภาษาเกาหลี ซึ่งต่อมาได้เข้ามาแทนที่ตระกูลภาษาญี่ปุ่นทางตอนใต้ของคาบสมุทร[4][5] บางส่วนระบุเป็นกลุ่มภาษาตุงกูซิก หรือมีหลักฐานไม่เพียงพอที่จะระบุความเกี่ยวข้องได้

อ้างอิง[แก้]

  1. Lee & Ramsey (2011), pp. 34–35.
  2. Lee & Ramsey (2011), pp. 43–44.
  3. Lee & Ramsey (2011), p. 44.
  4. Vovin (2013), pp. 231–232.
  5. Unger (2009), p. 87.

ข้อมูล[แก้]

  • Beckwith, Christopher I. (2004), Koguryo, the Language of Japan's Continental Relatives, Brill, ISBN 978-90-04-13949-7. ISBN 90-04-13949-4, Second edition, 2007.
  • Byington, Mark E. (2006), "Christopher I. Beckwith—Koguryo, the Language of Japan's Continental Relatives (Leiden: Brill, 2004)", Acta Koreana, 9 (1): 141–166.
  • Gardiner, Kenneth H. J. (2012a), "An Introductory Study of the 'Annals of Koguryŏ' in the Samguk Sagi", The Review of Korean Studies, 15 (1): 15–58, doi:10.25024/review.2012.15.1.001.
  • ——— (2012b), "Chinese Accounts of Koguryŏ and its Neighbours: From the Sanguozhi Ch. 30, Description of the Eastern Barbarians (SGZ 30 pp. 20B-31B; 35A-36B)", The Review of Korean Studies, 15 (2): 91–113, doi:10.25024/review.2012.15.2.004.
  • Georg, Stefan (2017), "Other isolated languages of Asia", ใน Campbell, Lyle (บ.ก.), Language Isolates, Routledge, pp. 139–161, ISBN 978-1-317-61090-8.
  • Janhunen, Juha (2005), "The lost languages of Koguryŏ" (PDF), Journal of Inner and East Asian Studies, 2 (2): 67–86, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-02-26.
  • Kim, Nam-Kil (1987), "Korean", ใน Comrie, Bernard (บ.ก.), The World's Major Languages, Oxford University Press, pp. 881–898, ISBN 978-0-19-520521-3.
  • Lee, Ki-Moon; Ramsey, S. Robert (2011), A History of the Korean Language, Cambridge University Press, ISBN 978-1-139-49448-9.
  • Nam, Pung-hyun (2012), "Old Korean", ใน Tranter, Nicolas (บ.ก.), The Languages of Japan and Korea, Routledge, pp. 41–72, ISBN 978-0-415-46287-7.
  • Pellard, Thomas (2005), "Koguryo, the Language of Japan's Continental Relatives: An Introduction to the Historical-Comparative Study of the Japanese-Koguryoic Languages with a Preliminary Description of Archaic Northeastern Middle Chinese By Christopher I. Beckwith", Korean Studies, 29: 167–170, doi:10.1353/ks.2006.0008.
  • Seth, Michael J. (2020), A Concise History of Korea (3rd ed.), Rowman & Littlefield, ISBN 978-1-5381-2897-8.
  • Shin, Michael D., บ.ก. (2014), Korean History in Maps, Cambridge University Press, ISBN 978-1-107-09846-6.
  • Sohn, Ho-Min (1999), The Korean Language, Cambridge: Cambridge University Press, ISBN 978-0-521-36123-1.
  • Toh, Soo Hee (2005), "About Early Paekche language mistaken as being Koguryŏ language" (PDF), Journal of Inner and East Asian Studies, 2 (2): 13–31, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-02-26.
  • Unger, J. Marshall (2009), The role of contact in the origins of the Japanese and Korean languages, Honolulu: University of Hawaii Press, ISBN 978-0-8248-3279-7.
  • Vovin, Alexander (2005), "Koguryŏ and Paekche: different languages or dialects of Old Korean?" (PDF), Journal of Inner and East Asian Studies, 2 (2): 107–140, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-02-26.
  • ——— (2013), "From Koguryo to Tamna: Slowly riding to the South with speakers of Proto-Korean", Korean Linguistics, 15 (2): 222–240, doi:10.1075/kl.15.2.03vov.
  • Whitman, John (2011), "Northeast Asian Linguistic Ecology and the Advent of Rice Agriculture in Korea and Japan", Rice, 4 (3–4): 149–158, doi:10.1007/s12284-011-9080-0.
  • ——— (2013), "A History of the Korean Language, by Ki-Moon Lee and Robert Ramsey", Korean Linguistics, 15 (2): 246–260, doi:10.1075/kl.15.2.05whi.
  • ——— (2015), "Old Korean", ใน Brown, Lucien; Yeon, Jaehoon (บ.ก.), The Handbook of Korean Linguistics, Wiley, pp. 421–438, ISBN 978-1-118-35491-9.

อ่านเพิ่ม[แก้]