ภาษาละเม็ต

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาละเม็ต
Rmeet
Khamet (Xmet)
ประเทศที่มีการพูดประเทศลาว, ประเทศไทย
ชาติพันธุ์ชาวละเม็ต
จำนวนผู้พูดไม่ทราบ (20,000 อ้างถึง1995 census)[1]
ตระกูลภาษา
รหัสภาษา
ISO 639-3lbn

ภาษาละเม็ต (อังกฤษ: Lamet) หรือภาษาขะเม็ต เป็นภาษาที่มีผู้พูดในลาวและไทย มีผู้พูดราว 16,864 คน พบในลาว 16,740 คน (พ.ศ. 2538) ในลาวตะวันตกเฉียงเหนือ หลวงน้ำทา บ่อแก้ว บางส่วนอพยพเข้ามาอยู่ประเทศไทยเมื่อหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 พบในไทย 100 คน ที่จังหวัดลำปางและเชียงราย เป็นภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติก กลุ่มมอญ-เขมร สาขาปะหล่อง ชื่อภาษาละเม็ตใช้ในประเทศลาว ในไทยใช้ชื่อภาษาขะเม็ต ผู้พูดภาษาละเม็ตเรียกภาษาของตนเองว่า [χəmɛːt] หรือแบบที่พบน้อยกว่าว่า [kʰəmɛːt][2]

ที่ตั้ง[แก้]

เดิมเคยมีผู้พูดภาษาละเม็ตลำปางในหมู่บ้าน Takluh ทางตอนเหนือของหลวงน้ำทาในประเทศลาว

วิธภาษาที่ใกล้ชิดกับภาษานี้คือ Lua' ที่มีผู้พูดใน Ban Pang Chok (Ban Lua) อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ประเทศไทย[3]

อ้างอิง[แก้]

  1. ภาษาละเม็ต ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
  2. Conver, Lynn C. 1999. "A Sketch of the Phonology of a Lamet Dialect." In The Mon-Khmer Studies Journal, 29: 35-56.
  3. Narumol, Charoenma. 1982. The phonologies of a Lampang Lamet and Wiang Papao Lua. The Mon-Khmer Studies Journal 11. 35-45.
  • สุริยา รัตนกุล. นานาภาษาในเอเชียอาคเนย์ ภาคที่ 1: ภาษาตระกูลออสโตรเอเชียติกและภาษาตระกูลจีน-ธิเบต. กทม. ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล. 2531
  • Narumol, Charoenma. 1980. The sound systems of Lampang Lamet and Wiang Papao Lua. MA thesis, Mahidol University.
  • Narumol, Charoenma. 1982. The phonologies of a Lampang Lamet and Wiang Papao Lua. The Mon-Khmer Studies Journal 11. 35-45.
  • Gordon, Raymond G., Jr. (ed.) , 2005. Ethnologue: Languages of the World, Fifteenth edition. Dallas, Tex.: SIL International. Online version: http://www.ethnologue.com/.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]