ภาษาปันตาร์ตะวันตก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ภาษาปันตาร์ตะวันตก
ภูมิภาคนูซาเต็งการาตะวันออก อินโดนีเซีย
จำนวนผู้พูด~10804 คน (2548)  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
ภาษากลุ่มอลอร์-ปันตาร์
  • ภาษาปันตาร์ตะวันตก
รหัสภาษา
ISO 639-3lev

ภาษาปันตาร์ตะวันตกหรือภาษาลัมมา เป็นภาษากลุ่มปาปวน ใช้พูดทางตะวันตกของหมู่เกาะปันตาร์ ในอินโดนีเซีย มีผู้พูดราว 10000 คน มี 3 สำเนียงคือ

  • ตุบเบ (ใช้พูดในปุนตารู และอาอีร์ ปานัส)
  • เมาตา (ใช้พูดในกากาเมาตา, อาลีมักเก, เลากี, กาปัส, โกลีฮับบัง, และ อาลีกัลลัง )
  • ลัมมา (ใช้พูดในกาลนดามาและลาตูนา)

ต่อไปนี้เป็นการเปรียบเทียบภาษาปันตาร์ตะวันตกสำเนียงต่างๆ

ตุบเบ เมาตา ลัมมา  
niar nisser niba ‘พ่อของฉัน’
niaku nebu nekul ญาติผู้น้องของฉัน
niu niau nau แม่ของฉัน
ganiaka ganeka(r) ginaka ‘มอง (มัน)’
dia si yel ‘ไป’

ระบบเสียง[แก้]

มีพยัญชนะเสียงกักไม่ก้องและก้อง: /p t k ’/ และ /b d g/; เสียงเสียดแทรก ไม่ก้อง/s h/; เสียงนาสิก /n m ng/; เสียงม้วนลิ้น /r/ และเสียงข้างลิ้น/l/; และเสียง /w/ and /y/.

  labial alveolar velar glottal
plosive p t k '
b d g  
เสียงเสียดแทรก   s   h
เสียงนาสิก m n ng  
เสียงเหลว   r    
  l    
approximant w   y  

อ้างอิง[แก้]

  • Grimes, Charles E., Tom Therik, Barbara Dix Grimes & Max Jacob. 1997. A guide to the people and languages of Nusa Tenggara. (Paradigma series B 1). Kupang, Indonesia: Universitas Kristen Artha Wacana and Alfa Omega Foundation.
  • Stokhof, W. A. L. 1975. Preliminary notes on the Alor and Pantar languages (East Indonesia). (Pacific Linguistics B-43). Canberra: Australian National University.