ฟีเล (ยานอวกาศ)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟีเล
COSPAR ID2004-006C
ข้อมูลยานอวกาศ
มวลบรรทุก21 kg (46 lb)[1]
ขนาด1 × 1 × 0.8 m (3.3 × 3.3 × 2.6 ft)[1]
เริ่มต้นภารกิจ
วันที่ส่งขึ้น2 มีนาคม 2547, 07:17 UTC
ฐานส่งKourou ELA-3
ผู้ดำเนินงานArianespace
อุปกรณ์
APX Alpha: Alpha Particle X-ray Spectrometer
CIVA: Comet nucleus Infrared and Visible Analyser
CONSERT COmet Nucleus Sounding Experiment by Radiowave Transmission
COSAC: COmetary SAmpling and Composition
MUPUS: Multi-Purpose Sensors for Surface and Subsurface Science
PTOLEMY: gas chromatograph and medium resolution mass spectrometer
ROLIS: ROsetta Lander Imaging System
ROMAP: ROsetta lander MAgnetometer and Plasma monitor
SD2: Sample and Distribution Device
SESAME: Surface Electric Sounding and Acoustic Monitoring Experiment
 

ฟีเล หรือ ไฟลี (อังกฤษ: Philae) เป็นส่วนลงจอด (lander) หุ่นยนต์ขององค์การอวกาศยุโรปซึ่งไปกับยานอวกาศ โรเซตตา[3] จนลงจอดบนดาวหาง 67พี/ชูรีวมอฟ-เกราซีเมนโค ที่กำหนด หลังออกจากโลกไปแล้วกว่าสิบปี[4][5][6] เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2557 ส่วนลงจอดสามารถลงจอดควบคุม (controlled touchdown) บนนิวเคลียสดาวหางได้สำเร็จเป็นครั้งแรก[7] คาดว่าอุปกรณ์จะได้ภาพแรก ๆ จากผิวดาวหางและทำการวิเคราะห์ ณ ที่เดิมเพื่อหาองค์ประกอบของดาวหาง[8] ฟีเล ถูกเฝ้าติดตามและควบคุมจากศูนย์ปฏิบัติการอวกาศยุโรปที่ดาร์มชตัดท์ ประเทศเยอรมนี[9]

ส่วนลงจอดนี้ได้ชื่อตามเกาะไฟลีในแม่น้ำไนล์ซึ่งพบโอบิลิสก์ โดยโอบิลิสก์ดังกล่าวร่วมกับศิลาโรเซตตาถูกใช้ถอดอักษรไฮโรกลิฟอียิปต์

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 "PHILAE". National Space Science Data Center. สืบค้นเมื่อ 28 January 2014.
  2. "Philae lander fact sheet" (PDF). DLR. สืบค้นเมื่อ 28 January 2014.
  3. Chang, Kenneth (5 August 2014). "Rosetta Spacecraft Set for Unprecedented Close Study of a Comet". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 5 August 2014.
  4. Ulamec, S.; Espinasse, S.; Feuerbacher, B.; Hilchenbach, M.; Moura, D.; และคณะ (April 2006). "Rosetta Lander—Philae: Implications of an alternative mission". Acta Astronautica. 58 (8): 435–441. Bibcode:2006AcAau..58..435U. doi:10.1016/j.actaastro.2005.12.009.
  5. Biele, Jens (2002). "The Experiments Onboard the ROSETTA Lander". Earth, Moon, and Planets. 90 (1–4): 445–458. Bibcode:2002EM&P...90..445B. doi:10.1023/A:1021523227314.
  6. Agle, D. C.; Cook, Jia-Rui; Brown, Dwayne; Bauer, Markus (17 January 2014). "Rosetta: To Chase a Comet". NASA. สืบค้นเมื่อ 18 January 2014.
  7. Chang, Kenneth (12 November 2014). "European Space Agency's Spacecraft Lands on Comet's Surface". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 12 November 2014.
  8. "Europe's Comet Chaser - Historic mission". European Space Agency. 16 January 2014. สืบค้นเมื่อ 5 August 2014.
  9. ESOC at ESA website, retrieved 13 November 2014