พี-3 โอไรออน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พี-3 โอไรออน
หน้าที่ เครื่องบินลาดตระเวนทางทะเล
ประเทศผู้ผลิต สหรัฐอเมริกา
ผู้ผลิต ล็อกฮีด มาร์ติน
คาวาซากิแอร์โรว์สเปซคอมปะนี
เที่ยวบินแรก พฤศจิกายน 1959[1]
เริ่มใช้ August 1962[1]
สถานะ Active
ผู้ใช้หลัก กองทัพเรือสหรัฐ
Royal New Zealand Air Force
Japan Maritime Self-Defense Force
Royal Australian Air Force
การผลิต 1961–1990[2]
จำนวนที่ถูกผลิต Lockheed – 650,
Kawasaki – 107,
Total – 757[3]
พัฒนาจาก Lockheed L-188 Electra
รุ่น Lockheed AP-3C Orion
Lockheed CP-140 Aurora
Lockheed EP-3
Lockheed WP-3D Orion
พัฒนาเป็น Lockheed P-7

พี-3 โอไรออน (อังกฤษ: P-3 Orion) เป็นเครื่องบินต่อต้านเรือดำน้ำและตรวจการณ์ทางทะเลสี่เครื่องยนต์ติดเทอร์โบ เครื่องบิน เริ่มบินเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1985 มันถูกประจำการในกองทัพเรือสหรัฐฯเมื่อวันที่ 13 สิงหาคม ค.ศ. 1989 แทนที่เครื่องบิน ล็อกฮีด พี-2 เนปจูน และยังประจำการในกองบินทหารเรือของกองทัพเรือไทยอีกด้วย

รายละเอียด พี-3 โอไรออน[แก้]

  • ผู้สร้าง บริษัทล็อกฮีด-แคลิฟอร์เนีย (สหรัฐอเมริกา)
  • ประเภท ลาตตระเวนทางทะเล พิสัยบินไกล เจ้าหน้าที่ 10 นาย
  • เครื่องยนต์ เทอร์โบใบพัด อิลลิสัน ที 56-เอ-14 ดับลิว ให้กำลังเครื่องละ 4,910 แรงม้า 4 เครื่อง
  • กางปีก 30.37 เมตร
  • ยาว 35.61 เมตร
  • สูง 10.29 เมตร
  • พื้นที่ปีก 120.77 ตารางเมตร
  • น้ำหนักเปล่า 27,890 กิโลกรัม
  • น้ำหนักบรรทุกสูงสุด 9,071 กิโลกรัม
  • น้ำหนักวิ่งขึ้นสูงสุด 61,235 กิโลกรัม
  • อัตราเร็วขั้นสูง 761 กิโลเมตร/ชั่วโมง ที่ระยะสูง 7,620 เมตร
  • อัตราเร็วเดินทางปกติ 639 กิโลเมตร/ชั่วโมง ที่ระยะสูง 457 เมตร
  • อัตราไต่ขั้นต้น 14.6 เมตร/วินาที
  • เพดานบินใช้งาน 8,625 เมตร
    • 5,790 เมตร เมื่อเครื่องยนต์ดับ 1 เครื่อง
  • รัศมีทำการบินไกลสุด 3,835 กิโลเมตร
    • 2,494 กิโลเมตร เมื่อบินเหนือเป้าหมาย 3 ชั่วโมง
  • บินทน 12.3 ชั่วโมง เมื่อใช้เครื่องยนต์ 4 เครื่อง
    • 17 ชั่วโมง เมื่อใช้เครื่องยนต์ 2 เครื่อง
  • อาวุธ ลูกระเบิดขนาด 2,000 ปอนด์ จำนวน 1 ลูก
    • ลูกระเบิดขนาด 1,000 ปอนด์ จำนวน 3 ลูก
    • ระเบิดน้ำลึก จำนวน 3 ลูก
    • ตอร์ปิโด จำนวน 8 ลูก
    • ระเบิดนิวเครียร์น้ำลึก จำนวน 2 ลูก
    • สามารถติดตั้งอาวุธที่ใต้ปีกได้ 10 ตำบล เป็นน้ำหนัก 5,448 กิโลกรัมที่ใต้ปีก และ 3,290 กิโลกรัมในลำตัว[4]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "P-3C Orion long range ASW aircraft." เก็บถาวร 16 มีนาคม 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน navy.mil,, 18 February 2009. Retrieved: 14 July 2010.
  2. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ aeroflight2010
  3. "P-3 production." เก็บถาวร 1 กันยายน 2011 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน p3orion.nl. Retrieved: 7 June 2011.
  4. อภิวัตน์ โควินทรานนท์,อากาศยาน1979ฉบับเครื่องบิน,เอวิเอชั่น ออบเซิร์ฟเวอร์,กรุงเทพ,2522