พระเจ้าราชาธิราช

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ราชาธิราช
ရာဇာဓိရာဇ်
พระบรมรูปของพระเจ้าราชาธิราชที่Kamawet รัฐมอญ
กษัตริย์แห่งหงสาวดี
ครองราชย์4 มกราคม ค.ศ. 1384 – ป. ธันวาคม ค.ศ. 1421
ราชาภิเษก5 มกราคม ค.ศ. 1384
ก่อนหน้าพระยาอู่
ถัดไปพญาธรรมราชา
อัครมหาเสนาบดีร่วมสมิงชีพราย (1384–1388)
ยัตซา (1388–1413)
เทียนมานียุต (1388–1421)
พระราชสมภพ28 มกราคม ค.ศ. 1368
วันศุกร์ ขึ้น 8 ค่ำ เดือนดะโบ่-ดแว มรันมาศักราช 729
โดนวู่น
อาณาจักรเมาะตะมะ
สวรรคต29 ธันวาคม ค.ศ. 1421 (53 พรรษา)
วันจันทร์ ขึ้น 7 ค่ำ เดือนดะโบ่-ดแว มรันมาศักราช 783
Kama Thamein Paik
อาณาจักรหงสาวดี
ฝังพระศพพะโค
ชายาตะละแม่ท้าว (1383–1390)
พระนางปิยราชเทวี (1383–1392; อัครมเหสี)
Yaza Dewi (1392–1421; หัวหน้า)
Lawka Dewi (1392–1421)
Thiri Maya Dewi Mi U-Si (1392–1421)
พระราชบุตร
กับพระองค์อื่น ๆ...
พ่อลาวแก่นท้าว
พญาธรรมราชา
พญารามที่ 1
พญาเกียรติ์
Binnya Set
พระนางเชงสอบู
พระนามเต็ม
พญาน้อย (ဗညားနွဲ့ [bəɲá nwɛ̰])
ราชวงศ์หงสาวดี (ฟ้ารั่ว)
พระราชบิดาพระยาอู่
พระราชมารดาพระนางสิริมายาเทวี
ศาสนาพุทธเถรวาท

พระเจ้าราชาธิราช (มอญ: ရာဇာဓိရာတ်[note 1]; พม่า: ရာဇာဓိရာဇ်, เสียงอ่านภาษาพม่า: [jàzàdəɹɪ̀ʔ] หรือ [jàza̰dəɹɪ̀ʔ] หย่าซาดะยิต; ค.ศ. 1368–1421) มีพระนามเดิมว่า พญาน้อยหรือมังสุระมณีจักร์[1] (พม่า: ဗညားနွဲ့, [bəɲá nwɛ̰]) ทรงเป็นกษัตริย์มอญแห่งราชอาณาจักรหงสาวดี ระหว่างปี ค.ศ. 1384–1421 (พ.ศ. 1927–1964) ซึ่งได้รับการนับถือว่าเป็นหนึ่งในกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์มอญและพม่า พระองค์ประสบความสำเร็จในการรวบรวมดินแดนที่พูดภาษามอญทั้ง 3 แห่งในพม่าตอนล่างให้เป็นเอกภาพ และสามารถต้านทานการรุกรานของอาณาจักรอังวะซึ่งเป็นอาณาจักรของกลุ่มชนที่พูดภาษาพม่าในพม่าตอนบนไว้ได้ในช่วงสงครามสี่สิบปี (ค.ศ. 1385–1424)

ประวัติศาสตร์นิพนธ์[แก้]

พงศาวดารแรกสุดที่กล่าวถึงพระองค์คือยาซาดะริตอเยดอว์บอง โดยเป็นพงศาวดารที่มีรายละเอียดมากที่สุด มีข้อมูลเกี่ยวกับพระองค์และราชวงศ์เมาะตะมะ-หงสาวดีช่วงแรกที่น่าเชื่อถือ[2] ส่วนพงศาวดารปากลัดก็กล่าวถึงพระองค์ด้วย แต่ยังคงต้องพิสูจน์แหล่งที่มาและความน่าเชื่อถือของพงศาวดารในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20[3] อย่างไรก็ตาม พงศาวดารขนาดเล็กอย่าง Slapat Rajawan และ Mon Yazawin มีข้อมูลเกี่ยวกับพระองค์เพียงเล็กน้อย โดยพงศาวดาร Slapat ที่เขียนโดยพระสงฆ์มีเนื้อหาส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับการอุปถัมภ์ทางศาสนาที่เจดีย์ชเวดากอง ให้ข้อมูลเพียงวรรคเดียวว่า ความสำเร็จตลอดทั้งชีวิตของพระเจ้าราชาธิราชคือการเมืองเป็นหลัก[4]

เหตุการณ์ ยาซาดะริตอเยดอว์บอง (ป. คริสต์ทศวรรษ 1560) ปากลัด (1912) Slapat Rajawan (1766) มหาราชวงศ์ (1724) มหาราชวงศ์ ฉบับใหม่ (1798) มหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้ว (1832)
วันพระราชสมภพ 28 มกราคม ค.ศ. 1368[note 2] ค.ศ. 1367/68[5] ป. ค.ศ. 1367/68[6] ไม่ได้ระบุ
ครองราชย์ 4 มกราคม ค.ศ. 1384[note 3] 2 มกราคม ค.ศ. 1384[note 4] ค.ศ. 1383/84[6] ค.ศ. 1383/84[note 5] ค.ศ. 1383/84[note 6] ค.ศ. 1383/84[note 7]
เริ่มสงครามสี่สิบปี ค.ศ. 1384/85[note 8] ค.ศ. 1387/88 [sic][note 9] ไม่ได้ระบุ ค.ศ. 1386/87[note 10] ค.ศ. 1385/86[note 11] ค.ศ. 1386/87[note 12]
ระยะเวลาครองราชย์ ~38 ปี[5] 38 [sic][note 13] 38 ปี[6] 40 ปี[7] ~38 ปี[note 14] 40 ปี[8]
ปีที่สวรรคต ค.ศ. 1421/22[5] ค.ศ. 1420/21 [sic][5] ค.ศ. 1421/22[6] ค.ศ. 1423/24[note 15] ค.ศ. 1421/22[note 16] ค.ศ. 1423/24 หรือ
1422/23 [sic][note 17]
พระชนมายุตอนสวรรคต 53 พรรษา (ปีที่ 54)[5] 53 พรรษา (ปีที่ 54)[5] 53 พรรษา (ปีที่ 54)[6] ไม่ได้ระบุ

พงศาวลี[แก้]

หมายเหตุ[แก้]

  1. รูปสะกด "ရာဇာဓိရာတ်" นำมาจาก Slapat Rajawan (Schmidt 1906: 118) และจารึกเจดีย์ชเวดากองใน ค.ศ. 1485 (Pan Hla 2005: 368, footnote 1). ยาซาดะริตอเยดอว์บอง (Pan Hla 2005) ใช้รูปสะกด ရာဇာဓိရာဇ် ทั้งภาษามอญและพม่า ดู (Pan Hla 2005: 395) ในส่วนที่มีชื่อ ရာဇာဓိရာဇ်. รูปสะกด ရာဇာဓိရာတ် อาจเป็นรูปสะกดในอดีต
  2. (Pan Hla 2005: 356, footnote 1): วันศุกร์ ขึ้น 8 ค่ำ เดือนดะโบ่-ดแว 729 ME = 28 มกราคม ค.ศ. 1368
  3. (Pan Hla 2005: 356, footnote 1): วันจันทร์ ขึ้น 12 ค่ำ เดือนดะโบ่-ดแว 745 ME = 4 มกราคม ค.ศ. 1384
  4. (Pan Hla 2005: 161): ขึ้น 10 ค่ำ เดือนดะโบ่-ดแว 745 ME = 2 มกราคม ค.ศ. 1384
  5. (Maha Yazawin Vol. 1 2006: 290) และ (Maha Yazawin Vol. 2 2006: 140): 745 ME = 30 มีนาคม ค.ศ. 1383 ถึง 28 มีนาคม ค.ศ. 1384
  6. (Yazawin Thit Vol. 1 2012: 195): 745 ME = 30 มีนาคม ค.ศ. 1383 ถึง 28 มีนาคม ค.ศ. 1384
  7. (Hmannan Vol. 1 2003: 417) และ (Hmannan Vol. 2 2003: 185): 745 ME = 30 มีนาคม ค.ศ. 1383 ถึง 28 มีนาคม ค.ศ. 1384
  8. (Pan Hla 2005: 164–165): Soon after Razadarit's accession; the chronicle reporting suggests 746 ME, 1384–85
  9. (Pan Hla 2005: 169, footnote 1): Pak Lat, which editor Pan Hla refers to as the Mon version, says the war began in 749 ME (1387/88). But 749 ME appears to be a copying error of 746 ME.
  10. (Maha Yazawin Vol. 1 2006: 290): 748 ME = 29 มีนาคม ค.ศ. 1386 ถึง 29 มีนาคม ค.ศ. 1387
  11. (Yazawin Thit Vol. 1 2012: 195): 747 ME = 29 มีนาคม ค.ศ. 1385 ถึง 28 มีนาคม ค.ศ. 1386
  12. (Hmannan Vol. 1 2003: 417): 748 ME = 29 มีนาคม ค.ศ. 1386 ถึง 29 มีนาคม ค.ศ. 1387
  13. Pak Lat (Pan Hla 2005: 356, footnote 1) says he reigned 38 years between 745 ME and 782 ME. He could have reigned for at most 37 years.
  14. ปีที่สวรรคต, 783 ME – ปีครองราชย์, 747 ME = ~38 ปี
  15. (Maha Yazawin Vol. 2 2006: 140): Razadarit died in 785 ME. (Maha Yazawin Vol. 2 2006: 56): Razadarit died in the following year after Minkhaung I's death in 784 ME.
  16. (Yazawin Thit Vol. 1 2012: 265): Minkhaung died in 783 ME, and Razadarit died two months later in the same year (783 ME).
  17. Hmannan is inconsistent. (Hmannan Vol. 2 2003: 185) follows Maha Yazawin's reporting that Razadarit died in 785 ME (1423/24). But (Hmannan Vol. 2 2003: 52) accepts that Yazawin Thit's date of death for Minkhaung (783 ME, 1421/22) but keeps Maha Yazawin's reporting that Razadarit died in the following year after Minkhaung's death, which now means 784 ME (1422/23). Hmannan should have said Razadarit died about two years after Minkhaung's death, if it wished to keep 785 ME as date of death of Razadarit.

อ้างอิง[แก้]

  1. นราธิปประพันธ์พงศ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ. พระราชพงศาวดารพม่า. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี : ศรีปัญญา, 2550, หน้า 1125
  2. Aung-Thwin 2017: 220–221
  3. Aung-Thwin 2017: 228–229
  4. Aung-Thwin 2017: 226, 260
  5. 5.0 5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 Pan Hla 2005: 356, footnote 1
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 6.4 Schmidt 1906: 119
  7. Maha Yazawin Vol. 2 2006: 140
  8. Hmannan Vol. 2 2003: 52

บรรณานุกรม[แก้]

  • Athwa, Sayadaw (1906) [1766]. แปลโดย P.W. Schmidt. "Slapat des Ragawan der Königsgeschichte". Die äthiopischen Handschriften der K.K. Hofbibliothek zu Wien (ภาษาเยอรมัน). Vienna: Alfred Hölder. 151.
  • Aung-Thwin, Michael A. (2017). Myanmar in the Fifteenth Century. Honolulu: University of Hawai'i Press. ISBN 978-0-8248-6783-6.
  • Fernquest, Jon (Spring 2006). "Rajadhirat's Mask of Command: Military Leadership in Burma (c. 1384–1421)" (PDF). SBBR. 4 (1). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2009-02-19.
  • Fernquest, Jon (Autumn 2006). "Crucible of War: Burma and the Ming in the Tai Frontier Zone (1382–1454)" (PDF). SOAS Bulletin of Burma Research. 4 (2). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-04-15. สืบค้นเมื่อ 2022-01-21.
  • Harvey, G. E. (1925). History of Burma: From the Earliest Times to 10 March 1824. London: Frank Cass & Co. Ltd.
  • Htin Aung, Maung (1967). A History of Burma. New York and London: Cambridge University Press.
  • Kala, U (2006) [1724]. Maha Yazawin (ภาษาพม่า). Vol. 1–3 (4th printing ed.). Yangon: Ya-Pyei Publishing.
  • Lieberman, Victor B. (2003). Strange Parallels: Southeast Asia in Global Context, c. 800–1830, volume 1, Integration on the Mainland. Cambridge University Press. ISBN 978-0-521-80496-7.
  • Maha Sithu (2012) [1798]. Kyaw Win; Thein Hlaing (บ.ก.). Yazawin Thit (ภาษาพม่า). Vol. 1–3 (2nd ed.). Yangon: Ya-Pyei Publishing.
  • Pan Hla, Nai (2005) [1968]. Razadarit Ayedawbon (ภาษาพม่า) (8th printing ed.). Yangon: Armanthit Sarpay.
  • Phayre, Major Gen. Sir Arthur P. (1873). "The History of Pegu". Journal of the Asiatic Society of Bengal. Oxford University. 42.
  • Phayre, Lt. Gen. Sir Arthur P. (1883). History of Burma (1967 ed.). London: Susil Gupta.
  • Royal Historical Commission of Burma (2003) [1832]. Hmannan Yazawin (ภาษาพม่า). Vol. 1–3. Yangon: Ministry of Information, Myanmar.
  • Sandamala Linkara, Ashin (1997–1999) [1931]. Rakhine Razawin Thit (ภาษาพม่า). Vol. 1–2. Yangon: Tetlan Sarpay.
  • Sein Lwin Lay, Kahtika U (2006) [1968]. Min Taya Shwe Hti and Bayinnaung: Ketumadi Taungoo Yazawin (ภาษาพม่า) (2nd printing ed.). Yangon: Yan Aung Sarpay.
  • Shorto, H.L. (1963). "The 32 "Myos" in the Medieval Mon Kingdom". Bulletin of the School of Oriental and African Studies, University of London. Cambridge University Press. 26 (3): 572–591. doi:10.1017/s0041977x00070336. JSTOR 611567.
  • Shwe Naw (1922) [1785]. Mon Yazawin (ภาษาพม่า). แปลโดย Shwe Naw. Yangon: Burma Publishing Workers Association Press.
  • Stadtner, Donald M. (2015). "Rajadhiraj's Rangoon Relics and a Mon Funerary Stupa". Journal of the Siam Society. 103: 63–88.
  • Than Tun (December 1959). "History of Burma: A.D. 1300–1400". Journal of Burma Research Society. XLII (II).