พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พระประจนปัจจนึก
(พุก มหาดิลก)
ประธานรัฐสภา
ดำรงตำแหน่ง
1 ธันวาคม 2494 – 16 กันยายน 2500
(5 ปี 289 วัน)
กษัตริย์พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
ก่อนหน้าพระยาศรยุทธเสนี (กระแส ประวาหะนาวิน)
ถัดไปหลวงสุทธิสารรณกร (สุทธิ สุขะวาที)
ดำรงตำแหน่ง
27 ธันวาคม 2500 – 20 ตุลาคม 2501
(0 ปี 297 วัน)
ก่อนหน้าหลวงสุทธิสารรณกร (สุทธิ สุขะวาที)
ถัดไปหลวงสุทธิสารรณกร (สุทธิ สุขะวาที)
ประธานสภาผู้แทนราษฎร
ดำรงตำแหน่ง
29 มีนาคม 2495 – 25 กุมภาพันธ์ 2500
(4 ปี 333 วัน)
ก่อนหน้าพระราชธรรมนิเทศ (เพียร ไตติลานนท์)
ถัดไปตัวเอง
ดำรงตำแหน่ง
15 มีนาคม 2500 – 20 กันยายน 2500
(0 ปี 189 วัน)
ก่อนหน้าตัวเอง
ถัดไปหลวงสุทธิสารรณกร (สุทธิ สุขะวาที)
ดำรงตำแหน่ง
15 ธันวาคม พ.ศ. 2500 – 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
(0 ปี 309 วัน)
ก่อนหน้าหลวงสุทธิสารรณกร (สุทธิ สุขะวาที)
ถัดไปศิริ สิริโยธิน
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด25 มีนาคม พ.ศ. 2435
จังหวัดพระนคร
ประเทศสยาม
เสียชีวิต27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513 (78 ปี)
จังหวัดพระนคร ประเทศไทย
คู่สมรสพุ่ม ประจนปัจจนึก
ยศที่ได้รับการแต่งตั้ง
รับใช้ ไทย
สังกัดกองทัพบกไทย
กรมราชองครักษ์
ประจำการ2453 - 2499
(กองทัพบก)
2499 - 2513
(กรมราชองครักษ์)
ยศ พลเอก

พลเอก พระประจนปัจจนึก นามเดิม: พุก มหาดิลก (24 มีนาคม พ.ศ. 2435 - 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2513) อดีตราชองครักษ์พิเศษ อดีตประธานรัฐสภา อดีตประธานสภาผู้แทนราษฎร อดีตรองประธานสภาผู้แทนราษฎร

ประวัติ[แก้]

พลเอก พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) เกิดเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2435 ที่ตำบลวัดมกุฎกษัตริย์ อำเภอป้อมปราบ จังหวัดพระนคร เป็นบุตรของ นายเจิม และ นางจอน ประจนปัจจนึก สมรสกับ นางพุ่ม ประจนปัจจนึก มีบุตรธิดารวม 10 คน

การศึกษา[แก้]

พลเอก พระประจนปัจจนึก จบการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยทหารบก

บรรดาศักดิ์[แก้]

  • 13 มีนาคม 2494 – กลับคืนมามีบรรดาศักดิ์[1]
  • – ถวายบังคมลาออกจากบรรดาศักดิ์
  • 7 พฤษภาคม 2471 – พระประจนปัจจนึก
  • 7 พฤษภาคม 2463 – หลวงประจนปัจจนึก

ยศทางทหาร[แก้]

  • 4 พฤษภาคม 2496 – พลเอก
  • 7 กันยายน 2486 – พลโท
  • 19 มิถุนายน 2486 พลตรี
  • 1 เมษายน 2477 พันเอก
  • 24 เมษายน 2474 พันโท
  • 25 เมษายน 2465 พันตรี
  • 23 พฤษภาคม 2459 ร้อยเอก
  • 11 เมษายน 2455 ร้อยโท
  • 12 มีนาคม 2453 ร้อยตรี

ตำแหน่งสำคัญทางทหาร[แก้]

  • 13 กรกฎาคม 2493 - 18 มีนาคม 2499 ผู้อำนวยการองค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก
  • 1 กันยายน 2487 ประจำกรมเสนาธิการ
  • 31 สิงหาคม 2487 ผู้อำนวยการหน่วยโยธาธิการ
  • 8 กรกฎาคม 2481 พลาธิการทหารบก
  • 17 มิถุนายน 2481 ประจำกรมเสนาธิการทหารบก
  • 4 เมษายน 2477 ผู้บังคับการมณฑลทหารบกที่ 1
  • 7 มกราคม 2477 จเรทหารบก
  • 1 มกราคม 2476 รองผู้บังคับการทหารราบ
  • 1 สิงหาคม 2475 ผู้บังคับกองพัน ในกรมทหารราบที่ 4
  • 2 ธันวาคม 2473 ผู้บังคับกองพันที่ 3 กรมทหารราบที่ 5
  • 1 เมษายน 2471 ผู้บังคับกองพันที่ 2 กรมทหารมหาดเล็ก
  • 1 พฤษภาคม 2470 ผู้บังคับกองพันที่ 3 กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์
  • 1 สิงหาคม 2469 ผู้บังคับกองพันที่ 2 กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์
  • 1 สิงหาคม 2462 ปลัดกรมทหารพราน ในกองพลทหารบกที่ 3
  • มิถุนายน 2459 ผู้บังคับกองร้อยที่ 1 กรมทหารราบที่ 2
  • มกราคม 2456 ผู้บังคับกองร้อยที่ 2 กรมทหารราบที่ 2
  • 2455 ผู้รั้งผู้บังคับกองร้อยที่ 4 กรมทหารราบที่ 12

ตำแหน่งนายทหารพิเศษ[แก้]

  • 4 กุมภาพันธ์ 2496 ราชองครักษ์พิเศษ
  • 15 พฤษภาคม 2478 ราชองครักษ์เวร

ตำแหน่งสำคัญทางการเมือง[แก้]

  • 1 ธันวาคม 2494 - 20 ตุลาคม 2501 - ประธานสภาผู้แทนราษฎร (11 สมัย)
  • 12 กันยายน 2477 - 24 มิถุนายน 2487 - รองประธานสภาผู้แทนราษฎร (10 สมัย)
  • 3 กุมภาพันธ์ 2502 - 30 มิถุนายน 2511 - สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ
  • 18 กันยายน 2500 - 20 ตุลาคม 2501 - สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภท 2
  • 30 พฤศจิกายน 2494 - 16 กันยายน 2500 - สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2[2]
  • 24 พฤษภาคม 2489 - 9 พฤศจิกายน 2490 - สมาชิกวุฒิสภา
  • 9 ธันวาคม 2476 - 10 พฤษภาคม 2489 - สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ประเภท 2

เครื่องราชอิสริยาภรณ์[แก้]

พลเอก พระประจนปัจจนึก (พุก มหาดิลก) ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ทั้งไทยและเต่างประเทศ ดังนี้

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย[แก้]

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ[แก้]

อนิจกรรม[แก้]

พลเอก พระประจนปัจจนึก ได้ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2513 รวมอายุได้ 78 ปี 248 วัน

อ้างอิง[แก้]

  1. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ข้าราชการกลับคืนมามีบรรดาศักดิ์
  2. ประกาศ แต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรประเภทที่ ๒
  3. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๗๑ ตอนที่ ๘๔ ง หน้า ๒๘๐๗, ๑๔ ธันวาคม ๒๔๙๗
  4. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๖๙ ตอนที่ ๓๘ ง หน้า ๑๗๔๘, ๑๗ มิถุนายน ๒๔๙๕
  5. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์, เล่ม ๗๒ ตอนที่ ๓๖ ง หน้า ๑๑๑๙, ๑๗ พฤษภาคม ๒๔๙๘
  6. ราชกิจจานุเบกษา แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญชัยสมรภูมิและเครื่องหมายเปลวระเบิด สำหรับผู้กระทำความชอบได้รับบาดเจ็บ, เล่ม ๕๘ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๘๑๐, ๑๕ เมษายน ๒๔๘๔
  7. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความ เรื่อง พระราชทานเหรียญพิทักษ์รัฐธรรมนูญ, เล่ม ๕๑ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๒๐๘๒, ๓๐ กันยายน ๒๔๗๗
  8. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญช่วยราชการเขตภายใน, เล่ม ๖๐ ตอนที่ ๔๓ ง หน้า ๒๕๙๐, ๑๗ สิงหาคม ๒๔๘๖
  9. ราชกิจจานุเบกษา, ส่งเหรียญราชอิสริยาภรณ์ไปพระราชทาน, เล่ม ๔๓ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๓๙๐, ๑๙ ธันวาคม ๒๔๖๙
  10. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๕๕ ตอนที่ ๐ ง หน้า ๓๖๐๘, ๒๓ มกราคม ๒๔๘๑
  11. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเหรียญรัตนาภรณ์, เล่ม ๗๐ ตอนที่ ๔๘ ง หน้า ๒๖๐๘, ๒๑ กรกฎาคม ๒๔๙๖
  12. ราชกิจจานุเบกษา, แจ้งความสำนักคณะรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานพระบรมราชานุญาตประดับเครื่องอิสริยาภรณ์ต่างประเทศ, เล่ม ๗๕ ตอนที่ ๖๙ ง หน้า ๒๔๕๔, ๒ กันยายน ๒๕๐๑