ผู้ใช้:Xiengyod/รามายณะ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
พระรามประทับบนไหล่หนุมาน เข้าต่อรบกับพญายักษ์ราวณะ (ทศกัณฐ์), ภาพวาดบนกระดาษ, ศิลปะอินเดีย, ประมาณคริสต์ทศวรรษที่ 1820 (สมบัติของบริติชมิวเซียม)

The Ramayana (Devanāgarī: रामायण, Rāmāyaṇa) is an ancient Sanskrit epic. It is ascribed to the Hindu sage Valmiki and forms an important part of the Hindu canon (smṛti). The Ramayana is one of the two great epics of India, the other being the Mahabharata.[1] It depicts the duties of relationships, portraying ideal characters like the ideal servant, the ideal brother, the ideal wife and the ideal king.

The name Ramayana is a tatpurusha compound of Rāma and ayana ("going, advancing"), translating to "Rama's Journey". The Ramayana consists of 24,000 verses in seven books (kāṇḍas) and 500 cantos (sargas),[2] and tells the story of Rama (an incarnation of the Hindu preserver-God Vishnu), whose wife Sita is abducted by the demon king of Lanka, Ravana. Thematically, the epic explores the tenets of human existence and the concept of dharma.[3]

Verses in the Ramayana are written in a 32-syllable meter called anustubh. The epic was an important influence on later Sanskrit poetry and Indian life and culture, particularly through its establishment of the shloka meter. Like its epic cousin the Mahābhārata, the Ramayana is not just an ordinary story: it contains the teachings of ancient Hindu sages and presents them in narrative allegory with philosophical and the devotional elements interspersed. The characters Rama, Sita, Lakshmana, Bharata, Hanuman and Ravana are all fundamental to the cultural consciousness of India.

There are other versions of the Ramayana, notably Buddhist (Dasaratha Jataka No. 461) and Jain in India, and also Indonesian, Thai, Lao, Burmese and Malay versions of the tale.

ประวัติเอกสาร[แก้]

Traditionally, the Ramayana is ascribed to Valmiki, regarded as India's first poet.[4] The Indian tradition is unanimous in its agreement that the poem is the work of a single poet, the sage Valmiki, a contemporary of Rama and a peripheral actor in the epic drama.[5] The story's original version in Sanskrit is known as Valmiki Ramayana, dating to approximately the 4th century B.C.[6][7] While it is often viewed as a primarily devotional text, the Vaishnava elements appear to be later accretions possibly dating to between the second and fourth centuries CE. The main body of the narrative lacks statements of Rama's divinity, and identifications of Rama with Vishnu are rare and subdued even in the later parts of the text.[8]

According to Hindu tradition, the Ramayana takes place during a period of time known as Treta Yuga.[9]

In its extant form, Valmiki's Ramayana is an epic poem of some 50,000 lines. The text survives in several thousand partial and complete manuscripts, the oldest of which appears to date from the 11th century A.D.[10] The text has several regional renderings,[6] recensions and subrecensions. Textual scholar Robert P. Goldman differentiates two major regional recensions: the northern (N) and the southern (S).[10] Scholar Romesh Chunder Dutt writes that "the Ramayana, like the Mahabharata, is a growth of centuries, but the main story is more distinctly the creation of one mind."[11]

There has been speculation as to whether the first and the last chapters of Valmiki's Ramayana were written by the original author. Raghunathan writes that many experts believe they are integral parts of the book in spite of some style differences and narrative contradictions between these two chapters and the rest of the book.[12][13]

Famous retellings include the Ramayanam of Kamban in Tamil (ca. 11th-12th century), Shri Rama Panchali or Krittivasi Ramayan by Krittibas Ojha in Bengali (ca. 15th Century), and Ramacharitamanas by Tulasidas in Awadhi which is a dialect of Hindi (c. 16th century).[6]

ยุคสมัย[แก้]

Some cultural evidence (the presence of sati in the Mahabharata but not in the main body of the Ramayana) suggests that the Ramayana predates the Mahabharata.[14] However, the general cultural background of the Ramayana is one of the post-urbanization period of the eastern part of North India (c. 450 BCE), while the Mahabharata reflects the Kuru areas west of this, from the Rigvedic to the late Vedic period.[15]

By tradition, the epic belongs to the Treta Yuga, one of the four eons (yuga) of Hindu chronology. Rama is said to have been born in the Treta Yuga to King Daśaratha in the Ikshvaku vamsa (clan).[16]

The names of the characters (Rama, Sita, Dasharatha, Janaka, Vasishta, Vishwamitra) are all known in Vedic literature such as the Brahmanas which are older than the Valmiki Ramayana.[17] However, nowhere in the surviving Vedic poetry is a story similar to the Ramayana of Valmiki.[18] According to the modern academic view, Brahma, one of the main characters of Ramayana, and Vishnu, who according to Bala Kanda was incarnated as Rama, are not Vedic deities, and come first into prominence with the epics themselves and further during the 'Puranic' period of the later 1st millennium CE. There is also a version of Ramayana, known as Ramopakhyana, found in the epic Mahabharata. This version, depicted as a narration to Yudhishtira, does not accord divine characteristics to Rama.[19]

There is general consensus that books two to six form the oldest portion of the epic while the first book Bala Kanda and the last the Uttara Kanda are later additions.[20] The author or authors of Bala Kanda and Ayodhya Kanda appear to be familiar with the eastern Gangetic basin region of northern India and the Kosala and Magadha region during the period of the sixteen janapadas as the geographical and geopolitical data is in keeping with what is known about the region. However, when the story moves to the Aranya Kanda and beyond, it seems to turn abruptly into fantasy with its demon-slaying hero and fantastic creatures. The geography of central and South India is increasingly vaguely described. The knowledge of the location of the island of Sri Lanka also lacks detail.[21] Basing his assumption on these features, the historian H.D. Sankalia has proposed a date of the 4th century BC for the composition of the text.[22] A. L. Basham, however, is of the opinion that Rama may have been a minor chief who lived in the 8th or the 7th century BC.[23]

ตัวละคร[แก้]

พระรามประทับนั่งเคียงคู่กับนางสีดา มีพระลักษมณ์คอยอยู่งานพัดถวาย และพญาวานรหนุมานแสดงอาการคารวะ
พระราม

ตัวละครเอกของมหากาพย์รามายณะ ผู้ถูกกล่าวถึงในฐานะอวตารชาติที่ 7 ของพระวิษณุ พระรามเป็นพระราชโอรสลำดับหัวปีและเป็นราชโอรสองค์โปรดของท้าวทศรถ กษัตริย์แห่งกรุงอโยธา และพระนางเกาศัลยา มีพระอุปนิสัยที่ยึดมั่นในคุณธรรมอย่างยิ่ง พระองค์ต้องออกเดินดงก่อนขึ้นครองราชสมบัติเป็นเวลา 14 ปี เพื่อรักษาสัจจวาจาของพระราชบิดาซึ่งได้ประทานพรแก่นางไกยเกยี ผู้เป็นมเหสีองค์กลาง ว่าจะประทานพรตามที่นางปรารถนา

นางสีดา

มเหสีผู้เป็นที่รักยิ่งของพระรามและราชธิดาของท้าวชนกแห่งกรุงมิถิลา นางเป็นอวตารของพระลักษณี มเหสีแห่งพระวิษณุ Sita is portrayed as the epitome of female purity and virtue. She follows her husband into exile and is abducted by Ravana. She is imprisoned on the island of Lanka until Rama rescues her by defeating the demon king Ravana. Later, she gives birth to Lava and Kusha, the heirs of Rama.

หนุมาน

a vanara belonging to the kingdom of Kishkindha. He is portrayed as an incarnation of the God Shiva (the Eleventh Rudra) and an ideal bhakta of Rama. He is born as the son of Kesari, a vanara king, and the Goddess Anjana. He plays an important part in locating Sita and in the ensuing battle.

พระลักษมณ์ (ลักษมัณ)

the younger brother of Rama, who chose to go into exile with him. He is portrayed as an incarnation of the Shesha, the nāga associated with the God Vishnu. He spends his time protecting Sita and Rama. He is forced to leave Sita, who was deceived by the demon Maricha into believing that Rama was in trouble. Sita is abducted by Ravana upon him leaving her.

ราวณะ (ทศกัณฐ์)

a rakshasa, is the king of Lanka. After performing severe penance for ten thousand years he received a boon from the creator-God Brahma that he could not be killed by Gods, demons or spirits. He is portrayed as a powerful demon king, who disturbs the penances of Rishis. Vishnu incarnates as the human Rama to defeat him, thus circumventing the boon given by Brahma.

ท้าวทศรถ

the king of Ayodhya and the father of Rama. He has three queens, Kousalya, Sumitra and Kaikeyi, and three other sons: Bharata, Lakshmana and Shatrughna. Kaikeyi, Dasharatha's favourite queen, forces him to make his son Bharata crown prince and send Rama into exile. Dasharatha dies heartbroken after Rama goes into exile.

พระภรต

the son of Dasharatha. When he learns that his mother Kaikeyi had forced Rama into exile and caused Dasharatha to die brokenhearted, he storms out of the palace and goes in search of Rama in the forest. When Rama refuses to return from his exile to assume the throne, Bharata obtains Rama's sandals and places them on the throne as a gesture that Rama is the true king. Bharata then rules Ayodhya as the regent of Rama for the next fourteen years.

พระศัตรุฆน์

โอรสองค์ที่ 4 ของท้าวทศรถ เกิดแต่นางสุมิตรา (มเหสีองค์ที่ 3 ของท้าวทศรถ) และเป็นฝาแฝดกับพระลักษมณ์

เรื่องราวโดยย่อ[แก้]

The poem is traditionally divided into several major kandas or books, that deal chronologically with the major events in the life of Rama—Bala kanda, Ayodhya Kanda, Aranya Kanda, Kishkinda Kanda, Sundara Kanda, Yuddha Kanda, and Uttara Kanda.[6] The Bala Kanda describes the birth of Rama, his childhood and marriage to Sita.[24] The Ayodhya Kanda describes the preparations for Rama's coronation and his exile into the forest.[24] The third part, Aranya Kanda, describes the forest life of Rama and the kidnapping of Sita by the demon king Ravana.[24] The fourth book, Kishkinda Kanda, describes the meeting of Hanuman with Rama, the destruction of the vanara king Vali and the coronation of his younger brother Sugriva to the throne of the kingdom of Kishkindha.[24] The fifth book is Sundara Kanda, which narrates the heroism of Hanuman, his flight to Lanka and meeting with Sita.[24] The sixth book, Yuddha Kanda, describes the battle between Rama's and Ravana's armies.[24] The last book, Uttara Kanda, describes the birth of Lava and Kusha to Sita, their coronation to the throne of Ayodhya, and Rama's final departure from the world.[24]

พาลกัณฑ์[แก้]

กำเนิดโอรสทั้งสี่แห่งท้าวทศรถ

ท้าวทศรถทรงเป็นกษัตริย์แห่งกรุงอโยธยา เมืองหลวงแห่งอาณาจักรโกศล พระองค์มีพระมเหสี 3 องค์ คือ นางเกาศัลยา นางไกยเกยี และนางสุมิตรา แต่หามีราชโอรสเพื่อจะสืบราชสมบัติไม่ พระองค์จึงได้จัดให้มีพิธีบูชาไฟเพื่อขอบุตรขึ้น[25] พระองค์ได้ราชโอรส 4 องค์เรียงตามลำดับคือ พระราม (เกิดจากนางเกาศัลยา) พระภรต (เกิดจากนางไกยเกยี) พระลักษมณ์และพระศัตรุฆน์ (โอรสแฝดซึ่งเกิดจากนางสุมิตรา) [26][27] โอรสทั้งสี่นี้คือร่างแบ่งภาคของพระวิษณุ ซึ่งถูกเลือกให้เกิดมาเป็นมนุษย์เพื่อปราบพญายักษ์ราวณะ ผู้ซึ่งเบียดเบียนทวยเทพทั้งหลายและได้รับพรว่าจะถึงแก่ความตายได้ก็ด้วยน้ำมือของมนุษย์เท่านั้น[28] กุมารทั้งสี่ได้รับการเลี้ยงดูอย่างสมฐานะของโอรสกษัตริย์ และำได้รับการสั่งสอนศิลปวิทยาการในแขนงต่างๆ ตามสมควรแก่วรรณะของตน เมื่อพระรามมีชันษาได้ 16 ปี พระฤๅษีวิศวามิตรได้มายังราชสำนักแห่งท้าวทศรถเพื่อขอให้พระรามผู้เป็นราชโอรสไปช่วยปราบอสูรที่คอยรบกวนการทำพิธีกรรมของเหล่าฤๅษีอยู่ตลอดเวลา ในการนี้พระลักษมณ์ได้ร่วมติดตามไปกับพระรามด้วย ทั้งพระรามและพระลักษมณ์ได้รับคำสั่งสอนและอาวุธวิเศษจากพระฤๅษีวิศวามิตร และสามารถปราบยักษ์ร้ายเหล่านั้นลงได้[29]

ฝ่ายท้าวชนก กษัตริย์แห่งกรุงมิถิลา วันหนึ่งพระองค์ได้ประกอบพิธีแรกนาขวัญ และทรงไถนาได้กุมารีนางหนึ่งซึ่งถือกำเนิดอยู่ในผืนดินที่พระองค์ประกอบพิธีอยู่ พระองค์ได้รับเลี้ยงกุมารีนั้นด้วยความดีพระทัยอย่างยิ่ง และทรงขนานนามเด็กหญิงนั้นว่า "สีดา" อันมีความหมายว่ารอยไถในภาษาสันสกฤต (สันสกฤต: सीता; สีตา) [30] นางสีดาเติบโตขึ้นเป็นหญิงงามและมีเสน่ห์อย่างไม่มีใครเทียมเทียมได้ และเมื่อนางมีอายุพอสมควรที่จะมีคู่ได้ ท้าวชนกจึงได้จัดพิธีสยุมพร เพื่อหาคู่ครองที่สมควรให้แก่ราชธิดาของพระองค์ ในพิธีครั้งนี้พระองค์ได้จัดให้มีการแข่งขันยกมหาธนูโมลี อันเป็นเทพอาวุธที่พระศิวะประทานให้แก่ท้าวชนก โดยตั้งเงื่อนไขไว่ว่า ใครก็ตามที่สามารถยกธนูนี้ขึ้นได้ก็จะได้นางสีดาไปครอง พระวิศวามิตรได้แนะให้พระรามและพระลักษมณ์เข้าร่วมในงานสยุมพรดังกล่าว พระรามสามารธยกมหาธนูโมลีได้เพียงผู้เดียวและยกก่งธนูดังกล่าวจนหัก พิธีอภิเษกของพระรามกับนางสีดาจึงเกิดขึ้นพร้อมด้วยการอภิเษกของราชโอรสอีกสามองค์ของท้าวทศรถกับราชธิดาและและราชนัดดาองค์อื่นๆ ของท้าวชนก ที่นครมิถิลาและมีการเฉลิมฉลองอย่างมโหฬาร เมื่อสิ้นสุดงานแล้วบรรดาคู่บ่าวสาวจึงได้เดินทางกลับสู่กรุงอโยธยา[29]

อโยธยากัณฑ์[แก้]

พระภรตทูลขอฉลองพระบาทของพระรามเป็นของแทนพระองค์ก่อนที่พระรามจะออกเดินดง 14 ปี

หลังจากการอภิเษกสมรสของพระรามกับนางสีดาผ่านไปได้ 12 ปี ท้าวทศรถตระหนักพระองค์ชราลงไปมากจึงดำริที่จะยกราชสมบัติให้พระรามเป็นผู้สืบทอดต่อไป บรรดาข้าราชบริพารต่างล้วนสนับสนุนพระดำริของท้าวทศรถเช่นกัน[31][32] ทว่าก่อนจะมีพีธีราชาภิเษกนั้น นางไกยเกยีซึ่งถูกยุยงจากนางทาสีหลังค่อมชื่อนางมันถรา ได้ทวงคำสัญญาจากท้าวทศรถที่เคยให้ไว้ในกาลก่อนว่าจะดลบันดาลให้ตามที่นางปรารถนา โดยพรที่นางขอคือให้เนรเทศพระรามออกจากเมืองไป 14 ปี และให้พระภรตซึ่งเป็นโอรสที่เกิดจากนางได้ครองราชสมบัติแทนในช่วงเวลาดังกล่าวนั้น พระราชาจำต้องอนุมัติตามที่นางขอเพื่อรักษาสัจจวาจาที่พระองค์ให้ไว้ด้วยพระทัยที่แหลกสลาย [33] พระรามยอมรับต่อราชโองการนั้นโดยความอ่อนน้อมและความสุขุมเยือกเย็น ซึ่งเป็นลักษณะเด่นของพระองค์ที่จะปรากฏต่อไปตลอดเรื่อง [34] พระลักษมณ์และนางสีดาได้ของติดตามพระรามไปด้วย เมื่อพระรามได้กล่าวห้ามนางสีดา นางได้เอ่บว่า "ผืนป่าที่พระองค์สถิตอยู่คือเมืองอโยธยาสำหรับหม่อมฉัน และเมืองอโยธยาที่ไร้พระองค์นั้นคือนรกอันแท้จริงของหม่อมฉัน"[35]

หลังจากพระรามเสด็จออกจากรุงอโยธยา ท้าวทศรถได้สวรรคตด้วยความตรอมพระทัย[36] ขณะเดียวกัน พระภรตผู้เสด็จไปเยี่ยมพระมาตุลาที่ต่างเมืองก็ได้ทราบเร่ืองราวที่เกิดขึ้นในอโยธยา พระองค์ได้ปฏิเสธที่จะขึ้นครองเมืองตามที่พระมารดาของตนได้ขอไว้และเสด็จไปติดตามพระรามในป่า โดยร้องขอให้พระรามกลับคืนเมืองและขึ้นครองราชย์ตามพระประสงค์อันแท้จริงของพระราชบิดา แต่พระรามปฏิเสธเพราะต้องการจะรักษาสัจจวาจาของพระราชบิดาไว้ พระภรตจึงได้ทูลขอฉลองพระบาทของพระรามไว้และเชิญไปประดิษฐานยังพระราชบัลลังก์เพื่อเป็นสัญลักษณ์แทนพระองค์ ส่วนพระภรตคงอยู่รักษาเมืองอโยธยาต่อไปในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เท่านั้น[33][36]

อรัณยกัณฑ์[แก้]

พระราม นางสีดา และพระลักษมณ์เดินทางลงใต้เลีบไปตามริมฝั่งแม่น้ำโคทาวารี และตั้งอาศรมพำนักและใช้ชีวิตอยู่ในบริเวณนั้น ที่ป่าปัญจวดีนั้นทั้งสามได้พบกับนางรากษสีชื่อ "ศูรปนขา" น้องสาวของพญายักษ์ราวณะ นางพยายามยั่วยวนสองพี่น้องให้มาเป็นสวามีและคิดจะฆ่านางสีดาให้ได้ พระลักษมณ์จึงหยุดนางด้วยการจับนางมาเชือดหูตัดจมูกเสีย เมื่อพญาขร พี่ชายของนางศูรปนขา ได้รู้เรื่องดังกล่าว จึงนำกองทหารมาจัดการกลุ่มของพระราม ทว่าพระรามกลับสามารถจัดการพญาขรกับกองทหารทั้งหมดลงได้ [37]

เรื่องความอับอายของนางศูรปนขาและความตายของพญาขรได้รู้เข้าไปถึงหูของพญาราวณะ พญายักษ์จึงหาวิธีทำลายพระรามโดยอาศัยความช่วยเหลือจากมารีศ มารีศได้แปลงร่างเป็นกวางทองมาล่อลวงนางสีดาให้หลงใหล นางสีดาเมื่อได้เห็นกวางทองแล้วจึงร้องขอให้พระรามช่วยจับกวางนั้นมาเลี้ยง แม้จะระแวงอยู่ว่ากวางนั้นเป็นยักษ์แปลงมาก็ตาม แต่พระรามขัดนางสีดาไม่ได้ จำต้องออกไปตามกวางตามความประสงค์นั้น โดยฝากให้พระลักษมณ์ช่วยคุ้มกันนางสีดาแทนตน เวลาผ่านไปนางสีดาได้ยินเสียงเหมือนกับว่าพระรามเรียกพระลักษมณ์ให้ตามไปช่วย นางจึงบอกให้พระลักษมณ์ไปช่วยพระรามด้วย พระลักษณ์ได้ทูลเตือนพระพี่นางของตนว่าพระรางนั้นแข็งแกร่งไม่มีใครทำร้ายได้ และตนจะต้องเชื่อฟังคำสั่งของพระรามต่อไป นางสีดาจึงคร่ำครวญด้วยความอึดอัดใจว่า คนที่ต้องการความช่วยเหลือในตอนนี้ไม่ใช่นาง แต่เป็นพระรามต่างหาก พระลักษมณ์เมื่อเห็นว่าจะขัดนางไม่ได้จึงจำต้องออกไปตามหาพระราม แต่ว่าพระลักษณ์เองก็ได้ตั้งเงื่อนไขไว้ว่านางสีดาจะต้องไม่ออกจากเขตอาศรม และออกไปต้อนรับคนแปลกหน้าเป็นอันขาด เมื่อบริเวณอาศรมพระรามเปิดโล่งเช่นนี้ ราวณะจึงได้แปลงกายเป็นฤๅษี กระทำภิกขาจารขออาหารจากนางสีดา เมื่อสบโอกาสในขณะที่นางสีดาไม่ระวังตัว ราวณะจึงจับตัวนางสีดาไปจากอาศรมได้[37][38]

พญาแร้งตนหนึ่งชื่อชฏายุได้พยายามช่วยนางสีดาจากเงื้อมมือของราวณะ แต่พลาดท่าเสียทีถูกราวณะทำร้ายจนบาดเจ็บสาหัสและไม่อาจช่วยเหลือนางสีดาได้ ราวณะได้พาตัวนางสีดามาไว้ยังกรุงลังกาและให้บรรดานางรากษสีคอยดูแลคุ้มกันนางอย่างเข้มงวด ราวณะะได้พยายามเกี้ยวนางสีดาเป็นชายา แต่นางสีดาไม่ยอมรับ และยังภักดีมั่นต่อพระรามเท่านั้น [36] พระรามและพระลักษณ์หลังจัดการมารีศแล้วก็ได้ทราบเรื่องนางสีดาถูกลักพาตัวจากนกชฏายุก่อนจะสิ้นใจ ทั้งสองจึงเดินทางออกตามหานางสีดาทันที [39] ระหว่างการเดินทางทั้งสองได้พบกับยักษ์ชื่อ "กพันธะ" และนางดาบสีนีชื่อ "ศพรี" ซึ่งได้ชี้ทางให้ทั้งสองเดินทางไปพบพญาวานรสุครีพและหนุมาน [40][41]

กีษกินธากัณฑ์[แก้]

พญาพาลีรบกับสุครีพ ภาพจำหลักหิน ศิลปะบาปวนสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 11 (ราวพุทธศตวรรษที่ 16) ได้จากเมืองพระตะบอง ประเทศกัมพูชา (สมบัติของพิพิธภัณฑ์กีเมต์, ปารีส, ฝรั่งเศส)

เรื่องราวของกีษกินธากัณฑ์เกิดขึ้นในนครกีษกินธา เมืองแห่งวานร พระรามและพระลักษณ์ได้พบกับหนุมาน ชุนทหารวานรผู้ยิ่งใหญ่ที่สุดและเป็นผู้ติดตามของสุครีพ อุปราชแห่งนครกิษกินธาผู้ถูกขับออกจากเมือง ของตน[42] พระรามได้ผูกมิตรกับพญาสุครีพและให้ความช่วยเหลือสุครีพในการสังหารพญาพาลี กษัตริย์แห่งกิษกินธาและเชษฐาของสุครีพ เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนในการให้ความช่วยเหลือพระรามในการตามหานางสีดา[43] เมื่อพาลีสิ้นชีวิตและนครกิษกินธาตกอยู่ในความปกครองของสุครีพแล้ว สุครีพกลับลืมคำสัญญาดังกล่าวและมัวเพลิดเพลินอยู่กับการเสวยสุขในนคร พระลักษมณ์โกรธสุครีพมากจึงจะตรงไปทำลายนครวานรเสีย นางตาราผู้เป็นชายาของสุครีพจึงเกลี้ยกล่อมให้สุครีพทำตามคำสัญญาที่ไว้แก่พระราม เพื่อบรรเทาความโกรธของพระลักษมณ์และรักษาเกียรติยศของตัวสุครีพเอง สุครีพจึงได้ส่งกองทหารวานรออกไปสืบหาข่าวของนางสีดาในทั้งสี่ทิศ[44] ผลปรากฏว่ามีเพียงกองทหารที่ส่งไปหาข่าวทางทิศใต้ (ภายใต้การนำขององคตและหนุมาน) ที่ประสบความสำเร็จ โดยกองทหารชุดดังกล่าวได้ข่าวจากพญาแร้งสัมปาติว่านางสีดาถูกนำตัวไปยังกรุงลังกา[44][45]

สุนทรกัณฑ์[แก้]

พญาราวณะพยายามเกี้ยวนางสีดาในป่าอโศก ส่วนหนุมานคอยซุ่มดูอยู่บนต้นไม้

เนื้อหาของสุนทรกัณฑ์นับได้ว่าเป็นหัวใจหลักของมหากาพย์รามายณะฉบับวาลมิกี[46] และประกอบด้วยรายละเอียดของเรื่องราวการผจญภัยของหนุมานอันน่าตื่นเต้น[42] เรื่องราวจับความตั้งแต่เมื่อกองทหารวานรทราบข้อมูลเกี่ยวกับนางสีดา หนุมานจึงได้แปลงร่างของตนให้สูงใหญ่และกระโจนข้ามมหาสมุทรไปยังเกาะลังกา ณ ที่นี้ หนุมานได้พบนครของเหล่ารากษสและได้สืบข่าวของพญายักษ์ราวณะจนกระทั่งทราบว่า ราวณะได้พาตัวนางสีดาไปไว้ยังป่าอโศกและพยายามเกี้ยวพาราสีนางสีดาให้เป็นชายาของตน หนุมานจึงลอบเข้าไปถวายแหวนของพระรามแก่นางสีดา เพื่อเป็นเครื่องยืนยันว่าพระรามมาช่วยนางอย่าง และยังได้เสนอที่จะพานางสีดากลับไปพบพระรามด้วย แต่นางได้ปฏิเสธข้อเสนอนี้ เพราะไม่ประสงค์จะให้บุรุษอื่นนอกจากสวามีของตนสัมผัสตัวของนางอีก นางสีดาได้ฝากข้อความไปยังพระรามด้วยว่าขอให้พระองค์มาช่วยนางและล้างอายที่นางต้องถูกราวณะลักพามาด้วย[42]

หลังเสร็จการเข้าเฝ้านางสีดา หนุมานก็ได้ก่อความวุ่นวายขึ้นในกรุงลังกาด้วยการทำลายต้นไม้และอาคารต่างๆ พร้อมทั้งสังหารทหารของราวณะจำนวนมาก เมื่อราวณะส่งอินทรชิตมาจับตัวหนุมาน หนุมานก็แกล้งยอมให้ถูกจับโดยง่ายและถูกคุมตัวให้ไปพบกับพญายักษ์ราวณะ หนุมานได้เอ่ยปากให้ราวณะปล่อยตัวนางสีดาเสีย ราวณะจึงสั่งให้ทหารจุดไฟเผาหางของหนุมานเป็นการลงโทษ ทันทีที่ไฟติดหาง หนุมานก็ได้สะบัดตัวหลุดออกจากพันธนาการแล้วเผากรุงลังกาจนพินาศย่อยยับ จากนั้นจึงได้กลับไปยังฝั่งแผ่นดินใหญ่สมทบกับกองทัพวานร เพื่อกลับไปแจ้งข่าวดีที่นครกิษกินธาต่อไป[42][47]

ยุทธกัณฑ์[แก้]

ภาพวาดศึกลังกา ผลงานของไซฮิบดิน ราว (ค.ศ. 1649-53)

ยุทธกัณฑ์เป็นกัณฑ์ที่ว่าด้วยสงครามระหว่างพระรามกับท้าวราวณะ หลังจากพระรามได้ทราบข่าวของนางสีดาจากหนุมานแล้ว พระองค์พร้อมด้วยพระลักษมณ์และกองทัพวานรก็ได้เดินทางมุ่งตรงไปยังชายฝั่งทะเลทางทิศใต้ ณที่นั้นทั้งหมดได้พบกับวิภีษณะ น้องชายของราวณะผู้คัดค้านการลักพาตัวนางสีดาจนถูกขับไล่ออกจากกรุงลังกา ซึ่งได้ขอเข้าร่วมทัพกับพระราม กองทัพพระรามได้ยกไปยังกรุงลังกาโดยใช้สะพานหินซึ่งมีขุนพลวาน "นละ" กับ "นีละ" เป็นแม่กองในการสร้าง สร้างได้ดำเนินไปเป็นระยะเวลานานและจบลงด้วยการที่พระรามสามารถประหารพญายักษ์ราวณะได้ พระรามจึงแต่งตั้งให้วิภีษณะเป็นกษัตริย์ครองกรุงลังกาแทนสืบไป[48]

เมื่อได้พบกับนางสีดา พระรามได้ขอร้องให้นางสีดาเข้าพิธีลุยไฟเพื่อพิสูจน์ความบริสุทธิ์ของนาง เพราะนางได้ตกอยู่ในเงื้อมมือของยักษ์มาเป็นเวลานานหลายปี ทันทีทีนางได้ย่างเท้าเข้าสู่กองไฟในพิธีลุยไฟนั้น พระอัคนีผู้เป็นเทพแห่งไฟได้ทูนนางขึ้นไปยังบัลลังก์โดยหาได้ทำอันตรายแก่นางแต่อย่างใดไม่ แสดงถึงการยืนยันในความบริสุทธิ์ในตัวนางสีดาอย่างชัดแจ้ง[49] เรื่องราวในตอนพิธีลุยไฟนี้กล่าวความต่างกันในรามายณะฉบับของวาลมิกีและฉบับของตุลสิทาส[50] เนื้อความที่กล่าวถึงข้างต้นนั้นเป็นเรื่องจากฉบับของวาลมิกี ส่วนในรามายณะฉบับรามจริตมนัสของตุลสิทาสกล่าวว่า นางสีดาอยู่ภายใต้การคุ้มครองของพระอัคนี] จึงเป็นการจำเป็นที่จะเชิญนางออกจากความคุ้มครองของพระอัคนีก่อนกลับมาอยู่ร่ววมกับพระรามอีกครั้ง เมื่อวาระแห่งการเดินดง 14 ปี สิ้นสุดลง พระรามพร้อมด้วยนางสีดาและพระลักษมณ์ก็ได้กลับคืนสู่กรุงอโยธยา พระภรตได้ถวายราชสมบัติคืนและจัดพิธีราชาภิเษกพระรามขึ้นเป็นกษัตริย์ปกครองอาณาจักรโกศล[48]

อุตตรกัณฑ์[แก้]

นางสีดาประทับในบริเวณอาศรมของพระวาลมิกีฤๅษี

อุตตรกัณฑ์กล่าวถึงเรื่องราวในช่วงบั้นปลายชีวิตของพระราม นางสีดา และเหล่าอนุชาของพระราม ซึ่งเรื่องราวในกัณฑ์นี้ถ฿งมองว่าเป็นส่วนที่เพิ่มเติมเข้ามาต่อจากรามายณะฉบับดั้งเดิมที่วาลมิกีรจนาไว้[6] เรื่องจับความตั้งแต่หลังจากการขึ้นครองราชย์ของพระราม พระองค์ได้ครองคู่กับนางสีดาอย่างมีความสุขเป็นเวลาหลายปี ทว่าแม้นางสีดาได้ได้ผ่านพิธีลุยไฟ (ภาษาสันสกฤตเรียกพิธีนี้ว่า "อัคนีปาริกษะ") เพื่อพิสูจน์ความบริสุทธิ์ของตนแล้วก็ตาม แต่ชาวอโยธยาก็ยังคงมีข้อครหาต่อความบริสุทธิ์ของนางอยู่ตลอด[51] พระรามจำต้องยอมตามความเห็นของมหาชนและเนรเทศนางสีดาออกไปจากเมือง แม้จะเชื่อมั่นในความบริสุทธิ์ของนางอยู่ก็ตาม นางสีดาจึงได้ไปอาศัยอยู่สำนักอาศรมของพระฤๅษีวาลมิกี จนกระทั่งนางได้ประสูติโอรสแฝด 2 องค์ คือ เจ้าชายลวะและเจ้าชายกุศะ (ขณะที่นางสีดาถูกเนรเทศนั้นนางตั้งครรภ์อยู่แล้ว) พระกุมารทั้งสองต่อมาได้เล่าเรียนศิลปวิทยาการจากพระฤๅษีวาลมิกีและได้เติบโตขึ้นโดยที่ยังไม่ทราบถึงสถานะที่แท้จริงของตนเอง

พระฤๅษีวาลมิกีได้รจนามหากาพย์รามายณะและสวดให้สองกุมารสวดหนังเรื่องนี้ ต่อมาเมื่อพระรามได้กระทำพิธีอัศวเมธยัญ พระวาลมิกีจึงได้เข้าร่วมพิธีโดยพาสองกุมารไปด้วย และให้กุมารทั้งสองสวดเรื่องรามายาณะท่ามกลางมหาสมาคมต่อเบื้องพระพักตร์ของพระราม เมื่อสองกุมารสวดไปถึงตอนพระรามขับนางสีดา พระรามได้กันแสงออกมา พระวาลมิกีจึงได้เชิญนางสีดาออกมาพบพระราม ณ ที่นั้น นางได้ประกาศถึงความบริสุทธิ์ของตนโดยอ้างเอาแม่พระธรณีเป็นพยาน โดยกล่าวว่าหากนางเป็นผู้บริสุทธิ์จริงของให้แผ่นดินรับเอานางไปอยู่ด้วย เมื่อจบคำประกาศแล้ว แผ่นดินก็ได้แหวกเป็นช่องให้นางลงไปเบื้องล่างและหายไปกับผืนดินที่ปิดสนิท[51][52] หลังจากนั้นพระรามจึงได้รับรู้ว่ากุมารลวะและกุศะทั้งสองคนนั้นคือโอรสของตน พระองค์จึงรับโอรสทั้งสองเข้ามาเลี้ยงดูในวังสืบมา จนกระทั่งเมื่อบรรดาเทพเจ้าบนสวรรค์ได้ส่งข่าวว่าภารกิจการอวตารของพระองค์สิ้นสุดแล้ว พระรามจึงจัดการแบ่งราชสมบัติให้พระโอรสทั้งสอง และทำพิธีกลับคืนสู่สวรรค์พร้อมกับบรรดาพระอนุชาและขุนพลวานร[49]

อิทธิพลต่อศิลปะและวัฒนธรรม[แก้]

A Ramlila actor wears the traditional attire of Ravana

One of the most important literary works of ancient India, the Ramayana has had a profound impact on art and culture in the Indian subcontinent and Southeast Asia. The story ushered in the tradition of the next thousand years of massive-scale works in the rich diction of regal courts and Brahminical temples. It has also inspired much secondary literature in various languages, notably the Kambaramayanam by the Tamil poet Kambar of the 13th century, the Telugu-language Molla Ramayana, 14th century Kannada poet Narahari's Torave Ramayan, and 15th century Bengali poet Krittibas Ojha's Krittivasi Ramayan, as well as the 16th century Awadhi version, Ramacharitamanas, written by Tulsidas.

The Ramayana became popular in Southeast Asia during the 8th century and was represented in literature, temple architecture, dance and theatre. Today, dramatic enactments of the story of Ramayana, known as Ramlila, take place all across India and in many places across the globe within the Indian diaspora. The Ramayana has inspired works of film as well, most prominently the North American Sita Sings the Blues, which tells the story supporting Sita through song.

รามายณะฉบับอื่นๆ[แก้]

The epic story of Ramayana was adopted by several cultures across Asia. Shown here is a Thai historic artwork depicting the battle which took place between Rama and Ravana.

As in many oral epics, multiple versions of the Ramayana survive. In particular, the Ramayana related in North India differs in important respects from that preserved in South India and the rest of South-East Asia. There is an extensive tradition of oral storytelling based on the Ramayana in Indonesia, Cambodia, Thailand, Malaysia, Laos, Vietnam, and Maldives.[ต้องการอ้างอิง] Father Kamil Bulke, author of Ramakatha, has identified over 300 variants of Ramayana.[53]

ภายในอินเดีย[แก้]

The seventh century CE "Bhatti's Poem" Bhaṭṭikāvya of Bhaṭṭi is a Sanskrit retelling of the epic that simultaneously illustrates the grammatical examples for Pāṇini's Aṣṭādhyāyī as well as the major figures of speech and the Prakrit language.[54]

There are diverse regional versions of the Ramayana written by various authors in India. Some of them differ significantly from each other. During the 12th century AD, Kamban wrote Ramavataram, known popularly as Kambaramayanam in Tamil. Valmiki's Ramayana inspired the Sri Ramacharit Manas by Tulasidas in 1576, an epic Awadhi (a dialect of Hindi) version with a slant more grounded in a different realm of Hindu literature, that of bhakti. It is an acknowledged masterpiece of India, popularly known as Tulsi-krita Ramayana. Gujarati poet Premanand wrote a version of Ramayana in the 17th century. Other versions include a Bengali version by Krittivas in the 14th century, in Oriya by Balarama Das in the 16th century, in Marathi by Sridhara in the 18th century, a Telugu version by Ranganatha in the 15th century, a Torave Ramayana in Kannada by the 16th century poet Narahari and in 20th century Rashtrakavi Kuvempu's Sri Ramayana Darshnam, Kotha Ramayana in Assamese by the 14th century poet Madhava Kandali and Adhyathma Ramayanam Kilippattu, a Malayalam version by Thunchaththu Ezhuthachan in the 16th century.

There is a sub-plot to Ramayana, prevalent in some parts of India, relating the adventures of Ahi Ravana and Mahi Ravana, the evil brother of Ravana, which enhances the role of Hanuman in the story. Hanuman rescues Rama and Lakshmana after they are kidnapped by the Ahi-mahi Ravana at the behest of Ravana and held prisoner in a subterranean cave, to be sacrificed to the Goddess Kali.

Mappillapattu—a genre of song popular among the Muslims belonging to Kerala and Lakshadweep—has incorporated some episodes from the Ramayana into its songs. These songs, known as Mappila Ramayana, have been handed down from one generation to the next orally.[53] In Mappila Ramayana, the story of the Ramayana has been changed into that of a sultan, and there are no major changes in the names of characters except for that of Rama which is `Laman' in many places. The language and the imagery projected in the Mappilapattu are in accordance with the social fabric of the earlier Muslim community.[53]

ฉบับศาสนาเชน[แก้]

Jain version of Ramayana can be found in the various Jain texts like Padmapurana (story of Padma or Rama), Hemacandra’s Trisastisalakapurusa Caritra (hagiography of 63 illustrious persons), Sanghadasa’s Vasudevahindi and Uttarapurana by Gunabhadara.[55] According to Jain cosmology, every half time cycle has nine sets of Baladeva (balabhadra), Vasudeva (narayana) and Partivasudeva (anti vasudeva or anti hero). Rama, Lakshmana and Ravana are the eighth Baladeva, Vasudeva, and Partivasudeva respectively. Padmanabh Jaini notes that, unlike in the Hindu Puranas, the names Baladeva and Vasudeva are not restricted to Balarama and Krishna in Jain puranas. Instead they serve as names of two distinct class of mighty brothers, who appear nine times in each half of time cycles of the Jain cosmology and jointly rule the half the earth as half-chakravartins. Jaini traces the origin of this list of brothers to the Jinacharitra (lives of the Jinas) by Bhadrabahu swami (3-4 century BCE).[56]

In the Jain epic of Ramayana, it is Lakshmana who ultimately kills Ravana and not Rama as told in the Hindu version.[57] In the end, Rama who lead an upright life renounces his kingdom, becomes a Jain monk and attains moksha. On the other hand, Lakshmana and Ravana go to hell.[58] However, it is predicted that ultimately they both will be reborn as upright persons and attain liberation in their future births. According to Jain texts, Ravana will be the future Tirthankara (omniscient teacher) of Jainism.[59]

The Jain versions has some variations from Valmiki's Ramayana. Dasharatha, the king of Saketa had four queens: Aparajita, Sumitra, Suprabha ad Kaikeyi. These four queens had four sons. Aparajita's son was Padma, and he became known by the name of Rama. Sumitra's son was Narayana: he became to be known by another name, Lakshmana. Kaikeyi's son was Bharata and Suprabha's son was Shatrughna.[60] Furthermore, not much was thought of Rama's fidelity to Sita. According to Jain version, Rama had four chief-queens: Maithili, Prabhavati, Ratinibha, and Sridama. Furthermore, Sita takes renunciation as a Jain ascetic after Rama abandons her and is reborn in Heaven. Rama, after Lakshmana's death, also renounces his kingdom and becomes a Jain monk. Ultimately, he attains Kevala Jnana omniscience and finally liberation. Rama predicts that Ravana and Lakshmana, who were in fourth hell, will attain liberation in their future births. Accordingly, Ravana is the future Tirthankara of next half ascending time cycle and Sita will be his Gandhara (chief disciple).[61]

รามายณะในเนปาล[แก้]

Two versions of Ramayana are present in Nepal. One is written by Mahakabhi Siddhidas Mahaju in Nepal Bhasa. The other one is written by Aadikavi Bhanubhakta Acharya. The Nepal Bhasa version by Siddhidas Mahaju marks a great point in the renaissance of Nepal Bhasa whereas the one of Bhanubhakta Acharya is the first epic of Nepali.[ต้องการอ้างอิง]

รามายณะในอุษาคเณย์[แก้]

ระบำชวา จับความเรื่องรามายณะตอนพระรามเดินดง ตัวละครที่ปรากฏในฉากนี้คือพระลักษมณ์ พระราม และนางสีดา
รามา (พระราม) และเมซีตา (นางสีดา) จากเรื่องรามาซัตดอว์ (Yama Zatdaw) หรือรามายณะฉบับพม่า

Many other Asian cultures have adapted the Ramayana, resulting in other national epics. In Indonesia, Kakawin Ramayana is an old Javanese rendering; Yogesvara Ramayana is attributed to the scribe Yogesvara circa 9th century CE, who was employed in the court of the Medang in Central Java. It has 2774 stanzas in manipravala style, a mixture of Sanskrit and Archaic prose Javanese language. The most influential version of the Ramayana is the Ravanavadham of Bhatti, popularly known as Bhattikavya. The Javanese Ramayana differs markedly from the original Hindu prototype. The 9th century Javanese Kakawin Ramayana has become the reference of Ramayana in the neighboring island of Bali. In Indonesia, Ramayana has been integrated into local culture especially those of Javanese, Balinese and Sundanese, and has become the source of moral and spiritual guidance as well as aesthetic expression and also entertainment. Cultural performances such as Wayang shadow puppet and traditional dances often took their story from Ramayana. In Bali as well as in Java, The dances based on the episode of Ramayana often performed in temples such as Prambanan in Java and many Pura in Bali.

Phra Lak Phra Lam is a Lao language version, whose title comes from Lakshmana and Rama. The story of Lakshmana and Rama is told as the previous life of the Buddha. In Hikayat Seri Rama of Malaysia, Dasharatha is the great-grandson of the Prophet Adam. Ravana receives boons from Allah instead of Brahma.[62] In many Malay language versions, Lakshmana is given greater importance than Rama, whose character is considered somewhat weak.[ต้องการอ้างอิง]

The Cambodian version of Ramayana, the Reamker, is the most famous story of Khmer Literature since the Funan era. It adapts the Hindu concepts to Buddhist themes and shows the balance of good and evil in the world. The Reamker has several differences from the original Ramayana, including scenes not included in the original and emphasis on Hanuman and Sovanna Maccha, a retelling which influences the Thai and Lao versions. Reamker in Cambodia is not confined to the realm of literature but extends to all Cambodian art forms, such as sculpture, Khmer classical dance, theatre known as Lakhorn Luang (the foundation of the royal ballet), poetry and the mural and bas reliefs seen at the Silver Pagoda and Angkor wat.

Thailand's popular national epic Ramakien ("Glory of Rama") is derived from the Hindu epic. In Ramakien, Sita is the daughter of Ravana and Mandodari (T'os'akanth (=Dasakanth) and Mont'o). Vibhisana (P'ip'ek), the astrologer brother of Ravana, predicts calamity from the horoscope of Sita. So Ravana has her thrown into the waters, who, later, is picked by Janaka (Janok). While the main story is identical to that of the Ramayana, many other aspects were transposed into a Thai context, such as the clothes, weapons, topography, and elements of nature, which are described as being Thai in style. It has an expanded role for Hanuman and he is portrayed as a lascivious character. Ramakien can be seen in an elaborate illustration at the Wat Phra Kaew temple in Bangkok.

Other Southeast Asian adaptations include Ramakavaca of Bali (Indonesia), Maharadya Lawana and Darangen of Mindanao (Philippines), and the Yama Zatdaw of Myanmar. Aspects of the Chinese novel Journey to the West were also inspired by the Ramayana, particularly the character Sun Wukong, who is believed to have been based on Hanuman.[ต้องการอ้างอิง]

ความสำคัญในทางเทววิทยา[แก้]

Deities Sita (far right), Rama (center), Lakshmana (far left) and Hanuman (below seated) at Bhaktivedanta Manor, Watford, England.

Rama, the hero of the Ramayana, is a popular deity worshipped in the Hindu religion. Each year, many devout pilgrims trace his journey through India, halting at each of the holy sites along the way. The poem is not seen as just a literary monument, but serves as an integral part of Hinduism, and is held in such reverence that the mere reading or hearing of it, or certain passages of it, is believed by Hindus to free them from sin and bless the reader or listener.

According to Hindu tradition, Rama is an incarnation (Avatar) of the God Vishnu. The main purpose of this incarnation is to demonstrate the righteous path (dharma) for all living creatures on earth.

Arshia Sattar states that the central theme of the Ramayana, as well as the Mahabharata, is respectively Ram's and Krishna's hidden divinity and its progressive revelation.[63]

ดูเพิ่ม[แก้]

เชิงอรรถ[แก้]

  1. William Buck & Van Nooten 2000, "Introduction" p.xiii
  2. Dutt 2004, p.198
  3. Brockington 2003
  4. Prabhavananda 1979, p.81
  5. Goldman 1990, p.29
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 6.4 Sundararajan 1989, p.106
  7. R.K. Narayan, The Ramayana. Penguin Group, 2006, page xxiii: "The Indian epic, the Ramayana, dates back to 1500 BC according to certain early scholars. Recent studies have brought it down to about the fourth century BC."
  8. Robert P. Goldman, The Rāmāyaṇa of Vālmīki: an epic of ancient India. Bālakāṇḍa. Princeton University Press, 1990, page 45.
  9. William Buck & Van Nooten 2000, p.xxi
  10. 10.0 10.1 Goldman 1990 "Valmiki's Ramayana: Its nature and history", pp.4-6
  11. Dutt 2004, p.191
  12. Raghunathan, N. (trans.), Srimad Valmiki Ramayana
  13. Arya, R. P. (ed.), Ramayan of Valmiki
  14. Goldman, Robert P., The Ramayana of Valmiki: An Epic of Ancient India p. 23
  15. M. Witzel, The Vedas and the Epics: Some Comparative Notes on Persons, Lineages, Geography, and Grammar. In: P. Koskikallio (ed.) Epics, Khilas, and Puranas. Continuities and Ruptures. Proceedings of the Third Dubrovnik International Conference on the Sanskrit Epics and Puranas. September 2002. Zagreb: Croatian Academy of Sciences and the Arts 2005: 21-80
  16. Indian Wisdom Or Examples of the Religious, Philosophical, And Ethical Doctrines of the Hindus, by Monier Williams, Published 2006
  17. In the Vedas Sita means furrow relating to a Goddess of agriculture. - S.S.S.N. Murty, A note on the Ramayana
  18. Goldman, Robert P., The Ramayana of Valmiki: An Epic of Ancient India p 24
  19. Rama - The story of a history - chennaionline.com
  20. Goldman, Robert P., The Ramayana of Valmiki: An Epic of Ancient India p. 15-16
  21. Goldman, Robert P., The Ramayana of Valmiki: An Epic of Ancient India p. 28
  22. See Sankalia, H.D., Ramayana: Myth or Reality, New Delhi, 1963
  23. Basham, A.L., The Wonder that was India, London, 1956, p 303
  24. 24.0 24.1 24.2 24.3 24.4 24.5 24.6 Keshavadas 1988, p.23
  25. Keshavadas 1988, p.27
  26. Keshavadas 1988, p.29
  27. William Buck & Van Nooten 2000, p.16
  28. Goldman 1990, p.7 "These sons, are infused with varying portions of the essence of the great Lord Vishnu who has agreed to be born as a man in order to destroy a violent and otherwise invincible demon, the mighty rakshasa Ravana who has been oppressing the Gods, for by the terms of a boon that he has received, the demon can be destroyed only by a mortal."
  29. 29.0 29.1 Goldman 1990, p.7
  30. Bhattacharji 1998, p.73
  31. William Buck & Van Nooten 2000, pp.60-61
  32. Prabhavananda 1979, p.82
  33. 33.0 33.1 Goldman 1990, p.8
  34. Brockington 2003, p.117
  35. Keshavadas 1988, pp.69-70
  36. 36.0 36.1 36.2 Prabhavananda 1979, p.83
  37. 37.0 37.1 Goldman 1990, p.9
  38. William Buck & Van Nooten 2000, p.166-168
  39. Keshavadas 1988, pp.112-115
  40. Keshavadas 1988, pp.121-123
  41. William Buck & Van Nooten 2000, p.183-184
  42. 42.0 42.1 42.2 42.3 Goldman 1990, p.10
  43. William Buck & Van Nooten 2000, p.197
  44. 44.0 44.1 Goldman 1994, p.4
  45. Kishore 1995, pp.84-88
  46. Goldman 1996, p.3
  47. Goldman 1996, p.4
  48. 48.0 48.1 Goldman 1990, pp. 11-12
  49. 49.0 49.1 Prabhavananda 1979, p.84
  50. Rajagopal, Arvind (2001). Politics after television. Cambridge University Press. pp. 114–115. ISBN 9780521648394.
  51. 51.0 51.1 Goldman 1990, p.13
  52. Dutt 2002, "Aswa-Medha" p.146
  53. 53.0 53.1 53.2 "A different song". The Hindu. 12 August 2005. สืบค้นเมื่อ 2009-05-21.
  54. Fallon 2009
  55. Roy, Ashim Kumar (1984). A history of the Jainas. New Delhi: Gitanjali Pub. House. ISBN 11604851. {{cite book}}: ตรวจสอบค่า |isbn=: length (help) p. 20)
  56. Jaini, Padmanabh (2000). Collected Papers on Jaina Studies. Delhi: Motilal Banarsidass Publ. ISBN 81-208-1691-9. p. 377
  57. Jaini, Padmanabh (1998). The Jaina Path of Purification. New Delhi: Motilal Banarsidass. ISBN 81-208-1578-5. p.305
  58. Jaini, Padmanabh (2000). Collected Papers on Jaina Studies. Delhi: Motilal Banarsidass Publ. ISBN 81-208-1691-9. p. 359
  59. "Now, meet Ravan the saint". The Times of India. 2010-07-03. สืบค้นเมื่อ 2010-07-06. {{cite web}}: ไม่รู้จักพารามิเตอร์ |coauthors= ถูกละเว้น แนะนำ (|author=) (help)
  60. Roy, Ashim Kumar (1984). A history of the Jainas. New Delhi: Gitanjali Pub. House. ISBN 11604851. {{cite book}}: ตรวจสอบค่า |isbn=: length (help) pp. 20-21)
  61. Helen, Johnson (2009) [1931]. Muni Samvegayashvijay Maharaj (บ.ก.). Trisastiśalākāpurusacaritra of Hemacandra: The Jain Saga (ภาษาEnglish. Trans. From Prakrit). Vol. Part II. Baroda: Oriental Institute. ISBN 978-81-908157-0-3.{{cite book}}: CS1 maint: unrecognized language (ลิงก์) refer story of Munisuvrata
  62. Effect Of Ramayana On Various Cultures And Civilisations p. ?
  63. Sattar 1996, pp. lvi–lvii

อ้างอิง[แก้]