ผู้ใช้:Mopza/กระบะทราย 1

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กระบะทราย : แม่แบบ | กล่องผู้ใช้ | บทความคัดสรร (12) | บทความคุณภาพ | บทความทั่วไป | หน้าหลัก | นโยบาย
กลับหน้า Home | พูดคุย

ปรับปรุงล่าสุด (แสดงเฉพาะบอต)


ไฟล์:ALS4101.jpgผู้ใช้คนนี้สนใจด้านรถไฟไทย

CPAผู้ใช้คนนี้เป็น ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต


รายชื่อต่อไปนี้คือ รายชื่อโครงการและส่วนต่อขยายของรถไฟฟ้าในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลที่ถูกยกเลิก จากการปรับเปลี่ยนแผนแม่บทในครั้งต่างๆ

รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม[แก้]

ส่วนต่อขยายสนามกีฬาแห่งชาติ - พรานนก[แก้]

แนวเส้นทางนี้ปรากฏขึ้นครั้งแรกในแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง พ.ศ. 2543 (URMAP) โดยแนวเส้นทางจะต่อขยายจากสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ ไปตามแนวกลางของถนนพระรามที่ 1 ต่อเนื่องไปถนนบำรุงเมือง ซึ่งหลังจากพ้นสถานีสนามกีฬาแห่งชาติแนวเส้นทางจะลดระดับลงจากลักษณะของทางยกระดับไปเป็นอุโมงค์ เมื่อถึงถนนจักรพรรดิพงษ์แนวเส้นทางจะเลี้ยวขวาขึ้นไปทางทิศเหนือ และเลี้ยวกลับตามทางทิศตะวันตกตามแนวถนนหลานหลวง ตรงเข้าถนนราชดำเนินกลางด้านทิศเหนือ ผ่านอนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถึงบริเวณด้านหน้าสำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาลแล้วแนวเส้นทางจะเลี้ยวไปตามแนวถนนราชินี ลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยาไปยังบริเวณสถานีรถไฟบางกอกน้อยไปตามแนวทางรถไฟสายตะวันตกแล้วจึงเลี้ยวซ้ายไปด้านทิศใต้ตามแนวถนนอิสรภาพ จนถึงถนนพรานนกจึงเลี้ยวซ้ายไปตามแนวถนนพรานนก ลอดใต้ถนนจรัญสนิทวงศ์ไปตามแนวถนนพรานนก-พุทธมณฑลสาย 4 ที่อยู่ระหว่างการเวนคืนไปสิ้นสุดห่างจากทางแยกประมาณ 600 ม. อย่างไรก็ตามโครงการดังกล่าวได้มีการเปลี่ยนแปลงอยู่หลายครั้ง ไม่ว่าจะเป็นการเปลี่ยนรูปแบบเป็นทางยกระดับ หรือให้เป็นรถไฟใต้ดิน หรือเปลี่ยนแนวเส้นทาง จนในที่สุดในแผนแม่บทฯ พ.ศ. 2551 ได้มีการยกเลิกเส้นทางลง เนื่องมาจากแนวเส้นทางส่วนใหญ่ทับซ้อนกับสายสีส้มของรถไฟฟ้ามหานคร มีค่าใช้ในการดำเนินการสูง และจำเป็นต้องเสียพื้นที่จราจรบนถนนพระรามที่ 1 จำนวน 1 ช่องจราจรทั้งขาเข้าและขาออก เป็นระยะทาง 1 กิโลเมตรเพื่อสร้างเป็นอุโมงค์ลดระดับ ด้วยปัญหาทั้งหมด สนข. จึงเห็นสมควรให้ยกเลิกการศึกษาโครงการนี้ไป และคงไว้เพียงสถานียศเสเพียงหนึ่งสถานีเพื่อเชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงเข้ม ช่วงบางซื่อ - หัวลำโพง [1]

รายชื่อสถานี[แก้]

ชื่อและสีของสถานี รหัสสถานี รูปแบบสถานี จุดเปลี่ยนเส้นทาง วันที่เปิดให้บริการ
สนามกีฬาแห่งชาติ W1 ยกระดับ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542
กษัตริย์ศึก W2 ใต้ดิน แม่แบบ:BTS Lines สถานียศเส (โครงการ) ถูกยกเลิกโครงการ
ผ่านฟ้าลีลาศ W3 แม่แบบ:BTS Lines สถานีผ่านฟ้า (โครงการ)
แม่แบบ:BTS Lines สถานีผ่านฟ้า (โครงการ)
แม่แบบ:BTS Lines ท่าผ่านฟ้าลีลาศ
สนามหลวง W4 แม่แบบ:BTS Lines สถานีสนามหลวง (โครงการ)
ศิริราช W5 แม่แบบ:BTS Lines สถานีศิริราช (โครงการ)
แม่แบบ:BTS Lines สถานีศิริราช (โครงการ)
แม่แบบ:BTS Lines ท่าพรานนก
พรานนก W6 แม่แบบ:BTS Lines สถานีไฟฉาย (กำลังทดสอบระบบ)

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีน้ำเงิน[แก้]

ส่วนต่อขยายท่าพระ - คลองเตย (ศูนย์ฯ สิริกิติ์)[แก้]

แนวเส้นทางนี้ปรากฏขึ้นครั้งแรกในแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง พ.ศ. 2543 (URMAP) ที่กำหนดให้เส้นทางสายสีน้ำเงินช่วงนี้เป็น รถไฟฟ้าวงแหวนรอบนอก โดยเส้นทางนี้จะเริ่มต้นจากชั้นชานชาลาบนของสถานีท่าพระ ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อกับส่วนต่อขยายช่วงบางซื่อ - เตาปูน - ท่าพระ ยกระดับไปตามแนวเส้นทางถนนรัชดาภิเษก ผ่านจุดตัดถนนราชพฤกษ์ ที่แยกรัชดา - ราชพฤกษ์ ซึ่งเป็นจุดเชื่อมต่อกับสถานีตลาดพลู ของรถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม ต่อเนื่องไปยังแยกมไหสวรรย์ และแยกบุคคโล จากนั้นข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณสะพานกรุงเทพ และสะพานพระราม 3 ผ่านแยกถนนตก แยกถนนเจริญราษฎร์ ลอดใต้สะพานพระราม 9 เข้าสู่ถนนพระรามที่ 3 จากนั้นจะลดระดับไปเป็นรถไฟฟ้าใต้ดินบริเวณแยกพระรามที่ 3 - นราธิวาส ผ่านแยกนางลิ้นจี่ จากนั้นเลี้ยวขวาไปอยู่ใต้ทางพิเศษเฉลิมมหานคร ตั้งแต่บริเวณโรงเรียนนนทรีวิทยา จนถึงแยก ณ ระนอง และสิ้นสุดส่วนต่อขยายที่ชั้นชานชาลาล่างของสถานีศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ซึ่งจะก่อสร้างเพิ่มเติมหากมีการก่อสร้างส่วนต่อขยายดังกล่าว ทำให้สถานีศูนย์ฯ สิริกิติ์ กลายเป็นสถานีที่ใช้ชานชาลาเกาะกลาง แบบซ้อนกัน เช่นเดียวกับสถานีสยาม ของรถไฟฟ้าบีทีเอส เมื่อก่อสร้างส่วนต่อขยายดังกล่าวแล้วเสร็จ รวมระยะทางประมาณ 16 กิโลเมตร

รายชื่อสถานี[แก้]

ชื่อและสีของสถานี รหัสสถานี รูปแบบสถานี จุดเปลี่ยนเส้นทาง วันที่เปิดให้บริการ
ท่าพระ (จรัญสนิทวงศ์) BL01 ยกระดับ แม่แบบ:BTS Lines ช่วงหัวลำโพง - หลักสอง และช่วงเตาปูน - ท่าพระ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 (สายหัวลำโพง - หลักสอง)
มีนาคม พ.ศ. 2563 (สายเตาปูน - ท่าพระ)
ตลาดพลู BL แม่แบบ:BTS Lines สถานีตลาดพลู ถูกยกเลิกโครงการ
มไหสวรรย์ BL
ถนนตก BL
เจริญราษฎร์ BL
สะพานพระราม 9 BL
สาธุประดิษฐ์ BL
ยานนาวา BL
นางลิ้นจี่ BL ใต้ดิน
เชื้อเพลิง BL
ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ BL23 แม่แบบ:BTS Lines ช่วงหัวลำโพง - เตาปูน 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 (สายหัวลำโพง - บางซื่อ)

รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม[แก้]

ช่วงบางบำหรุ - อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ - ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย[แก้]

ชื่อและสีของสถานี รหัสสถานี รูปแบบสถานี จุดเปลี่ยนเส้นทาง วันที่เปิดให้บริการ
บางบำหรุ OR ใต้ดิน แม่แบบ:BTS Lines สถานีบางบำหรุ (กำลังทดสอบระบบ) ถูกปรับเปลี่ยนเส้นทาง
สิรินธร OR แม่แบบ:BTS Lines สถานีสิรินธร (กำลังทดสอบระบบ)
สามเสน OR แม่แบบ:BTS Lines สถานีสามเสน (โครงการ)
สวนสัตว์ดุสิต OR
ราชวิถี OR
อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ OR แม่แบบ:BTS Lines สถานีอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ
ดินแดง OR11 เป็นโครงการช่วงตะวันตก (บางขุนนนท์ - ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย) ในปัจจุบัน
ประชาสงเคราะห์ OR12
ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย OR13 แม่แบบ:BTS Lines สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (สถานีร่วม) 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 (สายสีน้ำเงิน)

ช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย - นวศรี - รามคำแหง[แก้]

ชื่อและสีของสถานี รหัสสถานี รูปแบบสถานี จุดเปลี่ยนเส้นทาง วันที่เปิดให้บริการ
ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย OR13 ใต้ดิน แม่แบบ:BTS Lines สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (สถานีร่วม) 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2547 (สายสีน้ำเงิน)
คลองลาดพร้าว OR ถูกปรับเปลี่ยนเส้นทาง
นวศรี OR
มหาวิทยาลัยรามคำแหง OR17 แม่แบบ:BTS Lines ท่า ม.รามคำแหง กำลังก่อสร้าง

รายชื่อทางแยกบน ถนนอ่อนนุช - ฉะเชิงเทรา
จังหวัด เขต กม.ที่ ชื่อจุดตัด ซ้าย ขวา
ถนนอ่อนนุช (แยกอ่อนนุช–คลองตาพุก)
กรุงเทพมหานคร วัฒนา 0+000 แยกอ่อนนุช ถนนสุขุมวิท ไปพระโขนง, สถานีขนส่งเอกมัย, อโศก ถนนสุขุมวิท ไปบางนา, สมุทรปราการ
สวนหลวง 4+000 แยกหมู่บ้านมิตรภาพ ไม่มี ซอยอ่อนนุช 46 ไปบรรจบถนนวชิรธรรมสาธิต (สุขุมวิท 101/1)
5+050 แยกสวนหลวง (ศรีนุช) ถนนศรีนครินทร์ ไปบางกะปิ ถนนศรีนครินทร์ ไปบางนา, สมุทรปราการ
ประเวศ 6+975 ต่างระดับอ่อนนุช-พัฒนาการ ถนนพัฒนาการ ไปบรรจบถนนศรีนครินทร์, คลองตัน ถนนพัฒนาการ ไปบรรจบถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9, สวนหลวง ร.9
11+050 แยกประเวศ ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ไป สน.ประเวศ, บรรจบ ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 (ทางขนาน) ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ไป สวนหลวง ร.9, บรรจบ ถนนอุดมสุข
11+375 ต่างระดับอ่อนนุช ถนนกาญจนาภิเษก (ตะวันออก) ไปบรรจบ ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7, บางปะอิน ถนนกาญจนาภิเษก (ตะวันออก) ไปบางพลี
11+550 แยกโรงพยาบาลสิรินธร ไม่มี ถนนสุขาภิบาล 2 ไปนิคมอุตสาหกรรมอัญธานี, บรรจบ ทางบริการด้านนอกถนนกาญจนาภิเษก
12+000 แยกอ่อนนุช 90 ไม่มี ซอยอ่อนนุช 90 ไป โรงพยาบาลสิรินธร
12+250 สะพาน ข้ามคลองตาพุก
ตรงไป: ถนนลาดกระบัง ไปท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ, ฉะเชิงเทรา
ถนนลาดกระบัง (คลองตาพุก-คลองหัวตะเข้)
กรุงเทพมหานคร ลาดกระบัง เชื่อมต่อจาก: ถนนอ่อนนุช ไป พระโขนง
12+250 สะพาน ข้ามคลองตาพุก
15+600 แยกกิ่งแก้ว ไม่มี ถนนกิ่งแก้ว ไป ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (อาคารคลังสินค้า), บางพลี
16+300 แยกลาดกระบัง ถนนร่มเกล้า ไปมีนบุรี ถนนร่มเกล้า เข้า ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (อาคารคลังสินค้า) (ไม่มีทางขึ้น-ลง)
19+550 แยกสุขสมาน ไม่มี ถนนสุวรรณภูมิ 4 เข้า ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ (อาคารผู้โดยสาร)
19+900 สะพาน ข้ามคลองหนองปรือ
19+975 - ถนนฉลองกรุง ไป สจล., นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง, หนองจอก ไม่มี
20+525 แยกลาดกระบัง 54 ไม่มี ซอยลาดกระบัง 54 ไป วัดศรีวารีน้อย, ม.หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, บรรจบ ถนนเทพรัตน
20+950 สะพาน ข้ามคลองหัวตะเข้
ตรงไป: ถนนหลวงแพ่ง ไป ฉะเชิงเทรา
ถนนหลวงแพ่ง (คลองหัวตะเข้-คลองกาหลง)
กรุงเทพมหานคร ลาดกระบัง เชื่อมต่อจาก: ถนนลาดกระบัง ไป ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ, พระโขนง
20+950 สะพาน ข้ามคลองหัวตะเข้
24+475 แยกต่างระดับลาดกระบัง ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ไป ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ, หัวยขวาง ทางหลวงพิเศษหมายเลข 7 ไป ชลบุรี, พัทยา
28+200 แยกวัดราชโกษา ถนนขุมทอง-ลำต้อยติ่ง ไปบรรจบ ถนนสุวินทวงศ์, หนองจอก ไม่มี
29+250 สะพาน ข้ามคลองกาหลง
ตรงไป: ถนนเทพราช-ลาดกระบัง ไป ฉะเชิงเทรา
ถนนเทพราช-ลาดกระบัง (ทางหลวงหมายเลข 314 (กม.ที่ 14+800) - บ้านลาดกระบัง)
สมุทรปราการ บางบ่อ เชื่อมต่อจาก: ถนนหลวงแพ่ง ไป ลาดกระบัง, ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
29+250
(20+329)
สะพาน ข้ามคลองกาหลง
29+879
(19+700)
ถนนเลียบคลองพระองค์เจ้าไชยานุชิต ไปบรรจบ ถนนสุวินทวงศ์ ถนนเลียบคลองพระองค์เจ้าไชยานุชิต ไป บางบ่อ
32+879
(16+700)
แยกวัดเปร็ง ไม่มี ถนนรัตนโกสินทร์ 200 ปี ไป บางบ่อ, ถนนเทพรัตน
34+629
(14+950)
แยกนิคมอุตสาหกรรมเอเชีย ไม่มี ถนนทางเข้านิคมอุตสาหกรรมเอเชีย
ฉะเชิงเทรา บ้านโพธิ์ 40+129
(9+450)
ซอยเทศบาลเทพราช 1 ไป ตลาดคลองสวน 100 ปี ไม่มี
41+679
(7+900)
แยกเกาะไร่ ไป อบต.เกาะไร่ ไป นิคมอุตสาหกรรมเวลโกรว์, บรรจบ ถนนเทพรัตน
49+579
(0+000)
แยกเทพราช ถนนสิริโสธร ไป เข้าเมืองฉะเชิงเทรา ถนนสิริโสธร ไป อ.บางปะกง ,บรรจบ ถนนเทพรัตน และ ถนนสุขุมวิท
      สะพาน              กำลังก่อสร้างหรือโครงการในอนาคต
  1. http://www.skyscrapercity.com/showthread.php?t=376199&page=12