ผู้ใช้:Budthai

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Budthai
วันเกิดพ.ศ. 2530
อาชีพ-
เพศไม่ระบุ
สรรพนามเรา/คุณ/เขา
สถานที่อยู่พระไตรปิฎกบนคอมพิวเตอร์
เริ่มเขียน22 พ.ย. 2550 หรือก่อนนั้นเล็กน้อย
สิ่งที่สนใจพระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา
การปฏิบัติธรรมตามพระไตรปิฎก
ระบบค้นพระไตรปิฎกบนคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
ความตั้งใจเรียนดี มีวินัย ใจอริยะ
ติดวิกิพีเดีย-
หน้านี้เริ่มทำด้วยรูปแบบของคุณ ผู้ใช้:Jutiphan


หนังสือ พระไตรปิืฎก เป็นจุดเริ่มต้นของชาวพุทธในการกล้าวสู่อริยมรรค ข้าพเจ้าจึงขอเชิญชวนให้ชาววิกิพีเดีย อ้างอิงพระไตรปิฎกในบทความเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา โดยเริ่มที่การแนะนำโปรแกรมก่อน ดังนี้ :-

  1. http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item
  2. http://www.palungjit.com/tripitaka/
  3. http://www.budsir.org/program/
  4. http://www.larndham.net/buddhism/tsearch.htm
  5. http://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%8E%E0%B8%81
  6. http://www.learntripitaka.com/Download.html
  7. http://dhammatan.84000.org/

อนึ่ง. ของ 84000.org มีวิธีค้นอย่างละเอียดอยู่ที่นี่ :- http://84000.org/tipitaka/read/?%C7%D4%B8%D5%E3%AA%E9

แนวทาง[แก้]

  • ศึกษาให้เข้าใจ.
  • จำได้ไม่ต้องเปิด.
  • ใช้ได้อย่างแคล่วคล่อง.
  • ช่วยสรรพสัตว์ได้ถ้วนทั่วทุกตัวคน.
  • เผยแพร่ให้ถูกหลัก จะประจักษ์ไม่ไหลหลง.
  • ปริยัตติ - ปฏิบัติ เป็นคู่สม.
  • สมถะ - วิปัสสนา - ศีล ระคน.
  • นิพพานไปไว ๆ ที เทอญ...
  • ท่องได้มาก-เข้าใจได้มาก-ปฏิบัติตามได้มาก-เลือกได้มาก.

การเป็นชาวพุทธ[แก้]

เริ่มต้นเปิดใจให้พระไตรปิฎก

เราจะไว้ใจทำอะไรๆตามใครๆได้อย่างไร หากใครคนนั่นเป็นคนที่เราไม่เชื่อถือเอาซะเลย ? การศึกษาพระธรรมวินัยก็เช่นกัน หากคุณไม่เชื่อพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ไม่เชื่อพระไตรปิฎก เป็นต้น ไว้ตั้งแต่แรกแล้วหล่ะก็ ... เตรียมตัวบิดเบือนคำสอนกันได้เลย ไม่มีทางเลยที่คุณจะเข้าใจแล้วทำตามหลอก พ่อศัตรูศาสนาตัวฉกาจ.

ทำตัวเป็นเด็กอนุบาล อย่าหยิ่ง !

ลองนึกถึงภาพศาสตราจารย์ไปเรียนวิชาที่ตัวเองเรียนมาอีกรอบ กับนักเรียนของตัวเองดูสิ ! (ใครมันจะไปกล้าสอน) ชาวพุทธเราก็อย่าทำตัวอย่างนั้นหล่ะ อย่าเป็นศาสตราจารย์สอนพระไตรปิฎก เป็นเด็กอนุบาลเริ่มเรียนพระไตรปิฎกเถอะนะ(แปลกนะ คนเราอยากดูเด็ก แต่มักทำตัวแก่แดดถือตัวกันมากมาย).

ท่องได้มาก-เข้าใจได้มาก-ปฏิบัติตามได้มาก-เลือกได้มาก

แผนวิทย์ มักจะแย่งแซงแผนศิลป์ ในการสอบเข้ามหาลัยอยู่เสมอๆ แน่หล่ะ ! ก็วิชาเค้าครอบคลุมกว่านินา. ชาวพุทธคนไหนสนใจจะบรรลุไวๆ ก็ให้เรียน ท่อง ค้น ถาม จด จำ อ่าน เขียน นึก ตรึก ตรวจ ทวน ครวญ ย้ำ ตอก ซ้ำ หวัง ตั้ง หมั่น เพียร เป็นต้นตามพระไตรปิฎก-อรรถกถา-ฎีกา เป็นต้น ให้มาก ๆ ก็แล้วกัน คุณอาจเป็นพระอริยะเร็วกว่าเพื่อนๆ ซัก 10 - 20 อสงไขย์ ก็เป็นได้.

โครงการ[แก้]

  • สร้าง-แก้ไข-เพิ่มเติม บทความในโครงการพุทธศาสนาให้ตรงตามหลักฐาน.
  • ผลักดันการอ้างอิงพระไตรปิฎก-อรรถกถา-ฎีกา กับผู้ที่เกี่ยวข้องในวิกิพีเดียโครงการพระพุทธศาสนา.
  • ผลักดันการศึกษาพระไตรปิฎก-อรรถกถาฎีกาเชิงลึก เน้นการเรียนแบบเข้าสู่หลักการตามหลักฐานชั้นพระไตรปิฎก - อรรถกถา - ฎีกา.
  • เปรียบเทียบความแตกต่างทางศัพท์ในพระพุทธศาสนาที่ถูกใช้ในภาษาไทย กับ กับ ศัพท์ทางพระพุทธศาสนาตามพระไตรปิฎก - อรรถกถา - ฎีกา.
  • เปรียบเทียบข้อมูลและแบบแผนทางพระพุทธศาสนาอื่นๆ ที่พบการทำสืบกันมาในประเทศไทย กับ พระพุทธศาสนาตามพระไตรปิฎก - อรรถกถา - ฎีกา.


ความคิดเห็นการทับศัพท์[แก้]

  • สนับสนุนการใช้ ศัพท์ซ้ำซ้อน/ทับศัพท์ คือ สามารถใช้ศัพท์ในสันสกฤต กับ ภาษาบาลีแทนกันได้ เพื่อความสะดวกในการเขียนบทความทางพระพุทธศาสนา เช่น ใช้คำว่านิทเทส(บาลี)ได้ ไม่ต้องเปลี่ยนเป็นนิเทศ(สันสกฤต) เพราะจากประสบการณ์พบว่า "การใช้ศัพท์ทั้งการพูดและการเขียนด้วยภาษาแม่แบบคือภาษาบาลีนั้น เป็นพื้นฐานที่สำคัญในการเข้าถึงหลักการตามพระไตรปิฎกซึ่งมีแม่แบบเป็นภาษาบาลี".

สะกิดใจ[แก้]

  • เรารักพระพุทธเจ้า.
  • คุณตัดพระไตรปิฎกทิ้งไป 90 % เมื่อคุณเอาวิทยาศาสตร์ไว้เหนือพระพุทธศาสนา.
  • คุณเติมวิทยาศาสตร์ให้เต็ม 100 % เมือคุณเอาพระพุทธศาสนาเป็นหลักศึกษาวิทยาศาสตร์.
  • ธรรมะของพระพุทธเจ้า ไม่ใช่ของอาจารย์.
  • ปฏิบัติมาก-ไม่เรียนงมงายดุจโค, เรียนมาก-ไม่ปฏิบัติโกงเก่งเป็นลิง, ทั้งปฏิบัติทั้งเรียนไซร้-หวังบรรลุได้พลันกลายเป็นอริยบุคคล.
  • คนไม่มีการศึกษาทรงจำพระไตรปิฎกอาจจะไม่ตกนรกเป็นแสนๆกัปป์ก็ได้, แต่คนไร้การศึกษาเช่นนั้นจะบรรลุธรรมไม่ได้เลย.

ลิงค์[แก้]

ภาพ


การเข้าถึง[แก้]

สนทนาปรึกษาหารือเรื่องพระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา - อ้างอิงเพื่อเขียนบทความ

ลิงก์นอก[แก้]