ปืนใหญ่อัตตาจรซีซาร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซีซาร์
ซีซาร์ของกองทัพบกฝรั่งเศสบนเชอร์ปา 10 ใน ค.ศ. 2018
ชนิดปืนใหญ่ฮาวอิตเซอร์อัตตาจร
แหล่งกำเนิดฝรั่งเศส
บทบาท
สงครามสงครามในอัฟกานิสถาน (พ.ศ. 2544–ปัจจุบัน)
กรณีพิพาทพรมแดนไทย–กัมพูชา
ปฏิบัติการเซอร์วัล
ปฏิบัติการแชมมาล
ประวัติการผลิต
ผู้ออกแบบเกียตอินดัสทรีส์
เน็กซเตอร์ซิสเต็มส์
บริษัทผู้ผลิตเน็กซเตอร์ซิสเต็มส์
ข้อมูลจำเพาะ
มวล17.7 ตัน (6×6)
28.7-30.2 ตัน (8×8)[1]
ความยาว10 เมตร (32 ฟุต 10 นิ้ว)
12.3 เมตร (40 ฟุต 4 นิ้ว) (8x8)[1]
ความกว้าง2.55 เมตร (8 ฟุต 4 นิ้ว)
2.8 เมตร (9 ฟุต 2 นิ้ว) (8x8)[1]
ความสูง3.7 เมตร (12 ฟุต 2 นิ้ว)
3.1 เมตร (10 ฟุต 2 นิ้ว) (8x8)[1]
ลูกเรือ5–6 นาย (3 นายกรณีฉุกเฉิน)

อาวุธหลัก
155 มม./52-คาลิเบอร์
อาวุธรอง
ไม่มี
เครื่องยนต์ดีเซล
กันสะเทือนขับเคลื่อนหกล้อ
พิสัยปฏิบัติการ
600 กิโลเมตร (370 ไมล์)
ความเร็วทางเรียบ: 100 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (62 ไมล์ต่อชั่วโมง)
ทางขรุขระ: 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง (31 ไมล์ต่อชั่วโมง)
ฮาวอิตเซอร์ซีซาร์บนอูนีม็อก อู2450เอ็ล แชสซีขับเคลื่อนหกล้อ
แผนที่ซีซาร์ประจำการเป็นสีน้ำเงิน

ซีซาร์ (CAESAR; ย่อมาจากภาษาฝรั่งเศส CAmion Équipé d'un Système d'ARtillerie แปลว่า รถบรรทุกที่ติดตั้งปืนใหญ่)[2] เป็นระบบปืนใหญ่ขนาด 155 ม.ม. ติดตั้งบนรถบรรทุกหุ้มเกราะขนาด 6 ล้อ ออกแบบและพัฒนาโดยบริษัท เกียท อินดัสทรีส์ รัฐวิสาหกิจของประเทศฝรั่งเศส เริ่มเข้าประจำการครั้งแรกในปี พ.ศ. 2551[3] กับกองทัพฝรั่งเศส[4]

ระบบซีซาร์สามารถปฏิบัติการโดยใช้ทหารประจำการ 5 นาย ในกรณีเร่งด่วนสามารถใช้ทหารประจำการเพียง 3 นาย บรรทุกกระสุนปืนใหญ่ 18 นัด มีอัตราการยิง 6 นัดต่อนาที ระยะหวังผล 40 กิโลเมตร คำนวณการยิงโดยอัตโนมัติด้วยระบบนำร่องเฉื่อย (Inertial Navigation System - INS) โดยใช้คอมพิวเตอร์ ระบบจับความเร่ง และไจโรสโคป โดยสามารถติดตั้งระบบและพร้อมยิงได้ภายในสองนาที

ปัจจุบันระบบซีซาร์มีประจำการในกองทัพฝรั่งเศส กองทัพบกไทย (6 ชุด)[5][6] กองทัพอินโดนิเซีย (37 ชุด) กองทัพเลบานอน (28 ชุด) และกองทัพซาอุดิอาระเบีย (76 ชุด)[7]

อ้างอิง[แก้]

การอ้างอิง
  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 "Archived copy". เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-05-23. สืบค้นเมื่อ 2018-06-06.{{cite web}}: CS1 maint: archived copy as title (ลิงก์)
  2. Caesar self propelled gun-www.defense-update.com เก็บถาวร 2007-10-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน; retrieved 13 February 2007
  3. "Nexter Systems CAESAR 155 mm self-propelled gun (France), Self-propelled guns and howitzers (wheeled)". Jane's Armour and Artillery. February 10, 2010. Retrieved January 5, 2011.
  4. Daffix, Bruno. "La DGA livre le premier canon CAESAR à l'armée de terre". DGA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 July 2008. สืบค้นเมื่อ 26 July 2008.
  5. First Export Order for Caesar Artillery System Army Guide
  6. Libération; Des canons français pour l'Arabie saoudite; 20 July 2006(in French)
  7. Janes.com; Déjà 163 "feuilles" de laurier à la couronne de Caesar