ประเทศไทยในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ประเทศไทย
ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016
รหัสประเทศTHA
เอ็นโอซีคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทย
เว็บไซต์olympicthai.org
รีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล
นักกีฬา54 คน ใน 15 ชนิดกีฬา
ผู้เชิญธงชาติ (พิธีเปิด)รัชนก อินทนนท์ (แบดมินตัน)[1]
ผู้เชิญธงชาติ (พิธีปิด)รัชนก อินทนนท์ (แบดมินตัน)
เหรียญ
อันดับ 35
ทอง
2
เงิน
2
ทองแดง
2
รวม
6
การเข้าร่วมแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน

ประเทศไทย ได้เข้าร่วมแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 31 ค.ศ. 2016 (พ.ศ. 2559) ณ เมืองรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล ระหว่างวันที่ 5 สิงหาคม21 สิงหาคม พ.ศ. 2559 คณะกรรมการโอลิมปิกแห่งประเทศไทยได้ส่งทีมนักกีฬาเข้าแข่งขันทั้งหมด 54 คน แบ่งเป็นเป็นชาย 26 คนและหญิง 28 คน เข้าร่วมการแข่งขันใน 15 ชนิดกีฬา

เหรียญรางวัล[แก้]

เหรียญ ชื่อ กีฬา รุ่น วันที่
ทอง โสภิตา ธนสาร ยกน้ำหนัก 48 กิโลกรัมหญิง 6 สิงหาคม
ทอง สุกัญญา ศรีสุราช ยกน้ำหนัก 58 กิโลกรัมหญิง 8 สิงหาคม
เงิน พิมศิริ ศิริแก้ว ยกน้ำหนัก 58 กิโลกรัมหญิง 8 สิงหาคม
เงิน เทวินทร์ หาญปราบ เทควันโด 58 กิโลกรัมชาย 17 สิงหาคม
ทองแดง สินธุ์เพชร กรวยทอง ยกน้ำหนัก 56 กิโลกรัมชาย 7 สิงหาคม
ทองแดง พาณิภัค วงศ์พัฒนกิจ เทควันโด 49 กิโลกรัมหญิง 17 สิงหาคม

จำนวนผู้เข้าแข่งขัน[แก้]

กีฬา ชาย หญิง รวม
ยิงธนู 1 0 1
กรีฑา 1 3 4
แบดมินตัน 2 5 7
มวยสากล 4 1 5
จักรยาน 0 2 2
กอล์ฟ 2 2 4
ยูโด 1 0 1
เรือพาย 1 1 2
เรือใบ 2 2 4
ยิงปืน 2 3 5
ว่ายน้ำ 1 1 2
เทเบิลเทนนิส 1 2 3
เทควันโด 1 2 3
เทนนิส 2 0 2
ยกน้ำหนัก 5 4 9
รวม 26 28 54

กรีฑา[แก้]

นักกีฬากรีฑาของไทยมีคุณสมบัติเข้าแข่งขันรายการต่อไปนี้:[2][3]

สัญลักษณ์
  • Note–Ranks given for track events are within the athlete's heat only
  • Q = ผ่านการคัดเลือกในรอบต่อไป
  • q = Qualified for the next round as a fastest loser or, in field events, by position without achieving the qualifying target
  • NR = สถิติระดับประเทศ
  • N/A = Round not applicable for the event
  • Bye = Athlete not required to compete in round
ชาย
ประเภทลู่และลาน
นักกีฬา รายการ รอบชิงชนะเลิศ
ผล อันดับ
บุญถึง ศรีสังข์ มาราธอน 2:37:46 133
หญิง
ประเภทลู่และถนน
นักกีฬา รายการ รอบชิงชนะเลิศ
ผล อันดับ
ณัฐธยาน์ ธนรณวัฒน์ มาราธอน 3:11:31 130
เจน วงษ์วรโชติ 2:47:27 91
ประเภทลาน
นักกีฬา รายการ รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
ระยะทาง อันดับ ระยะทาง อันดับ
สุเบญรัตน์ อินแสง ขว้างจักร 56.64 24 ไม่ผ่านเข้ารอบ

ยิงธนู[แก้]

นักกีฬายิงธนูไทยมีคุณสมบัติทั้งหมด 7 คน ต่อไปนี้[4]

นักกีฬา รายการ รอบจัดอันดับ รอบ 64 คน รอบ 32 คน รอบ 16 คน รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ / BM
คะแนน Seed ผล ผล ผล ผล ผล ผล อันดับ
วิทยา ทำว่อง ชายเดี่ยว 655 41 ประเทศมองโกเลีย จันซันกิน กันเติกส์ (MGL)
ชนะ 7–3
จีนไทเป เหว่ย์ จฺวิน-หัง (TPE)
ชนะ 6–5
ประเทศฝรั่งเศส วัลลาดง (FRA)
แพ้ 0–6
ไม่ผ่านเข้ารอบ

แบดมินตัน[แก้]

นักกีฬาแบดมินตันไทยมีคุณสมบัติทั้งหมด 7 คน ต่อไปนี้[5]

ชาย
นักกีฬา รายการ รอบแบ่งกลุ่ม แพ้ตกรอบ รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ ชิงชนะเลิศ / BM
คู่แข่งขัน
คะแนน
คู่แข่งขัน
คะแนน
อันดับ คู่แข่งขัน
คะแนน
คู่แข่งขัน
คะแนน
คู่แข่งขัน
คะแนน
คู่แข่งขัน
คะแนน
อันดับ
บุญศักดิ์ พลสนะ ชายเดี่ยว ประเทศเดนมาร์ก อาเซิลเซิน (DEN)
แพ้ 14–21, 13–21
ประเทศเกาหลีใต้ อี ดง-กึน (KOR)
ชนะ (21–19, 17–21, 21−16)
2 ไม่ผ่านเข้ารอบ
หญิง
นักกีฬา รายการ รอบแบ่งกลุ่ม แพ้ตกรอบ รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ ชิงชนะเลิศ / BM
คู่แข่งขัน
คะแนน
คู่แข่งขัน
คะแนน
คู่แข่งขัน
คะแนน
อันดับ คู่แข่งขัน
คะแนน
คู่แข่งขัน
คะแนน
คู่แข่งขัน
คะแนน
คู่แข่งขัน
คะแนน
อันดับ
พรทิพย์ บูรณะประเสริฐสุข หญิงเดี่ยว ประเทศออสเตรเลีย เฉิน เสฺวียน-อฺวี๋ (AUS)
ชนะ (21–14, 21–15)
ประเทศมอริเชียส ฟู คุน (MRI)
ชนะ (21–7, 21–18)
1 Q ประเทศยูเครน Ulitina (UKR)
ชนะ (21–14, 21–16)
ประเทศจีน ลี เสี่ยว รุ่ย (CHN)
แพ้ (12–21, 17–21)
ไม่ผ่านเข้ารอบ
รัชนก อินทนนท์ ประเทศเอสโตเนีย ตอลมอฟฟ์ (EST)
ชนะ 21–14, 21–13
เขตบริหารพิเศษฮ่องกง หยิป ปุย หยิน (HKG)
ชนะ (21–18, 21–12)
1 Q ประเทศญี่ปุ่น ยามากูชิ (JPN)
แพ้ (19–21, 16–21)
ไม่ผ่านเข้ารอบ
พุธิตา สุภจิรกุล
ทรัพย์สิรี แต้รัตนชัย
หญิงคู่ ประเทศเนเธอร์แลนด์ มึซเกินส์ /
ปิก (NED)
แพ้ 13–21, 20–22
ประเทศญี่ปุ่น มะสึโตะโมะ /
ทะกะฮะชิ (JPN)
แพ้ (15–21, 15–21)
ประเทศอินเดีย คุตตา /
พอนนัพพา (IND)
ชนะ (21–17, 21–15)
3 ไม่ผ่านเข้ารอบ
คู่ผสม
นักกีฬา รายการ รอบแบ่งกลุ่ม รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ ชิงชนะเลิศ / BM
คู่แข่งขัน
คะแนน
คู่แข่งขัน
คะแนน
คู่แข่งขัน
คะแนน
อันดับ คู่แข่งขัน
คะแนน
คู่แข่งขัน
คะแนน
คู่แข่งขัน
คะแนน
อันดับ
บดินทร์ อิสสระ
สาวิตรี อมิตรพ่าย
คู่ผสม ประเทศมาเลเซีย จัน เปง ซน /
โกะห์ หลิว หยิง ( MAS)
แพ้ 13–21, 19–21
ประเทศอินโดนีเซีย อะห์มัด /
นัตซีร์ ( INA)
แพ้ (11–21, 13–21)
ประเทศออสเตรเลีย มิดเดิลตัน /
ชู ( AUS)
ชนะ (21–13, 21–18)
3 ไม่ผ่านเข้ารอบ

มวยสากลสมัครเล่น[แก้]

นักกีฬามวยสากลสมัครเล่นของไทยมีคุณสมบัติเข้าแข่งขันรายการต่อไปนี้[6]

นักกีฬา รายการ รอบ 32 คน รอบ 16 คน รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ นัดชิงชนะเลิศ
ผลการแข่งขัน ผลการแข่งขัน ผลการแข่งขัน ผลการแข่งขัน ผลการแข่งขัน อันดับ
ฉัตร์ชัย บุตรดี แบนตั้มเวท สหราชอาณาจักร อัชฟัก (GBR)
ชนะ 3–0
ประเทศรัสเซีย นีคีติน (RUS)
แพ้ 1-2
ไม่ผ่านเข้ารอบ
อำนาจ รื่นเริง ไลท์เวท ประเทศอาร์เจนตินา เปร์ริน (ARG)
ชนะ 3–0
ประเทศฝรั่งเศส อูมีอา (FRA)
แพ้ TKO
ไม่ผ่านเข้ารอบ
วุฒิชัย มาสุข ไลท์เวลเตอร์เวท Bye สหรัฐ รัสเซล (USA)
แพ้ 1-2
ไม่ผ่านเข้ารอบ
สายลม อาดี เวลเตอร์เวท ประเทศเบลารุส คัสตรามิน (BLR)
ชนะ 2–1
ประเทศบัลแกเรีย ชามอฟ (BUL)
ชนะ 3–0
ประเทศฝรั่งเศส ซีโซโก (FRA)
แพ้ 0–3
ไม่ผ่านเข้ารอบ
เปี่ยมวิไล เล่าเปี่ยม ฟลายเวท Bye ประเทศโคลอมเบีย วาเลนเซีย (COL)
แพ้ 0–3
ไม่ผ่านเข้ารอบ

จักรยาน[แก้]

ประเภทถนน[แก้]

นักกีฬา รายการ เวลา อันดับ
จุฑาธิป มณีพันธุ์ Individual road race แข่งขันไม่จบ

ประเภทบีเอ็มเอ็กซ์[แก้]

นักกีฬา รายการ Seeding รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
ผล อันดับ คะแนน อันดับ คะแนน อันดับ ผล Rank
อะแมนดา คาร์ บีเอ็มเอ็กซ์หญิง 36.46 13 18 6 ไม่ผ่านเข้ารอบ

กอล์ฟ[แก้]

นักกีฬากอล์ฟของไทยมีคุณสมบัติเข้าแข่งขันรายการต่อไปนี้[7][8]

นักกีฬา รายการ รอบที่ 1 รอบที่ 2 รอบที่ 3 รอบที่ 4 รวม
คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน คะแนน พาร์ อันดับ
กิรเดช อภิบาลรัตน์ ชาย 71 69 69 67 276 -8 =5
ธงชัย ใจดี 70 75 67 67 279 -5 =15
เอรียา จุฑานุกาล หญิง 65 71 ถอนตัวจากการแข่งขัน 136 -6 DNF
พรอนงค์ เพชรล้ำ 71 72 69 71 283 -1 =25

ยูโด[แก้]

นักยูโดของไทยมีคุณสมบัติ 1 คน ในประเภทเฮฟวี่เวทชาย (+100 กก.)[9]

นักกีฬา รายการ รอบ 32 คน รอบ 16 คน รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ Repechage รอบชิงชนะเลิศ / BM
คู่แข่งขัน
คะแนน
คู่แข่งขัน
คะแนน
คู่แข่งขัน
คะแนน
คู่แข่งขัน
คะแนน
คู่แข่งขัน
คะแนน
อันดับ
คุณาธิป เยี่ยอ้น +100 กก. ชาย ประเทศโรมาเนีย นาแตอา (ROU)
แพ้ 000–100
ไม่ผ่านเข้ารอบ

กีฬาเรือพาย[แก้]

นักกีฬาเรือพายของไทยมีคุณสมบัติเข้าแข่งขันรายการต่อไปนี้

นักกีฬา รายการ รอบคัดเลือก Repechage รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
เวลา อันดับ เวลา อันดับ เวลา อันดับ เวลา อันดับ เวลา อันดับ
จารุวัฒน์ แสนสุข กรรเชียงชายเดี่ยว 7:25.06 4 R 7:16.39 3 SE/F Bye 7:54.38 1 FE 7:49.86 26
พุทธรักษา นีกรี โรเดนเบิร์ก กรรเชียงหญิงเดี่ยว 9:17:95 4 R 8:07.92 4 SE/F Bye 8:51.99 3 FE 8:41.34 27

กีฬาเรือใบ[แก้]

นักกีฬาเรือใบ

นักกีฬา รายการ เรซ คะแนนสุทธิ อันดับสุดท้าย
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 M*
นัฐพงษ์ โพธิ์นพรัตน์ RS:X 32 29 32 14 37 21 30 24 25 25 28 27 EL 287 29
กีรติ บัวลง เลเซอร์ 25 38 37 32 38 39 35 18 27 47 EL 287 37
ศิริพร แก้วดวงงาม RS:X 19 23 22 18 11 2 27 7 18 14 15 17 EL 166 18
กมลวรรณ จันทร์ยิ้ม เลเซอร์เรเดียล 25 27 28 31 32 34 30 31 38 31 EL 268 32

M = รอบชิงเหรียญรางวัล; EL = ถูกคัดออก – did not advance into the medal race

กีฬายิงปืน[แก้]

นักกีฬายิงปืนจากประเทศไทยที่ได้รับโควตามีดังนี้[10][11]

นักกีฬา รายการ รอบคัดเลือก รอบรองชนะเลิศ รอบสุดท้าย
แต้ม อันดับ แต้ม อันดับ แต้ม อันดับ
นภิศ ต่อตั้งพานิช ปืนยาวอัดลม 10 ม. 617.4 41 ไม่ผ่านเข้ารอบ
ปืนยาวอัดลมท่านอน 50 ม. 620.9 29 ไม่ผ่านเข้ารอบ
ปืนยาว 3 ท่า 50 ม. 1159 37 ไม่ผ่านเข้ารอบ
อัฐพล เอื้ออารี ปืนยาวท่านอน 50 ม. 625.3 7 Q 80.8 8
สุธิยา จิวเฉลิมมิตร เป้าบิน 68 10 ไม่ผ่านเข้ารอบ
พิมพ์อร คล้ายสุบรรณ ปืนสั้นอัดลม 10 ม. 373 39 ไม่ผ่านเข้ารอบ
ปืนสั้นอัดลม 25 ม. 575 23 ไม่ผ่านเข้ารอบ
ธันยพร พฤกษากร ปืนสั้นอัดลม 10 ม. 378 27 ไม่ผ่านเข้ารอบ
ปืนสั้นอัดลม 25 ม. 568 32 ไม่ผ่านเข้ารอบ

ว่ายน้ำ[แก้]

นักว่ายน้ำไทยที่ผ่านคุณสมบัติ มีดังต่อไปนี้

นักกีฬา รายการ รอบคัดเลือก รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
เวลา อันดับ เวลา อันดับ เวลา อันดับ
รดมยศ มาตเจือ กบ 100 เมตร ชาย 1:02.36 37 ไม่ผ่านเข้ารอบ
ณัฐฐานันท์ จันกระจ่าง ฟรีสไตล์ 100 เมตร หญิง 56.24 32 ไม่ผ่านเข้ารอบ

เทเบิลเทนนิส[แก้]

นักปิงปองไทยที่มีคุณสมบัติ มีดังต่อไปนี้

นักกีฬา รายการ รอบคัดเลือก รอบที่ 1 รอบที่ 2 รอบที่ 3 รอบที่ 4 รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ / BM
ผล ผล ผล ผล ผล ผล ผล ผล อันดับ
ภาดาศักดิ์ ตันวิริยะเวชกุล ชายเดี่ยว Bye ประเทศอินเดีย โฆศ (IND)
ชนะ 4–1
ประเทศกรีซ Gionis (GRE)
แพ้ 0–4
ไม่ผ่านเข้ารอบ
นันทนา คำวงศ์ หญิงเดี่ยว Bye ประเทศอียิปต์ Meshref (EGY)
ชนะ 4–1
ประเทศโปรตุเกส Yu F (POR)
ชนะ 4–3
ประเทศเยอรมนี Han Y (GER)
แพ้ 0–4
ไม่ผ่านเข้ารอบ
สุธาสินี เสวตรบุตร Bye สาธารณรัฐคองโก Han X (CGO)
ชนะ 4–3
ประเทศเนเธอร์แลนด์ Li Jiao (NED)
แพ้ 2–4
ไม่ผ่านเข้ารอบ

เทควันโด[แก้]

พาณิภัค วงศ์พัฒนกิจ ผ่านการคัดเลือกโดยอัตโนมัติ ในรุ่นไม่เกิน 49 กก. หญิง โดยการติดอันดับ 1 ใน 6 ของ WTF Olympic Rankings[12] เทวินทร์ หาญปราบ และพรรณนภา หาญสุจินต์ ผ่านการคัดเลือกในรุ่นไม่เกิน 58 กก. ชาย และ ไม่เกิน 57 กก. หญิง ในการแข่งขันรอบคัดเลือกโอลิมปิกโซนเอเชีย 2016 ในมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์

นักกีฬา รายการ รอบ 16 คน รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ Repechage รอบชิงเหรียญทองแดง รอบชิงชนะเลิศ
ผลการแข่งขัน ผลการแข่งขัน ผลการแข่งขัน ผลการแข่งขัน ผลการแข่งขัน ผลการแข่งขัน อันดับ
เทวินทร์ หาญปราบ ชาย <58 กก. ประเทศเกาหลีใต้ คิม แตฮุน (KOR)
ชนะ 12–10
ประเทศออสเตรเลีย คาลิล (AUS)
ชนะ 11–9
สาธารณรัฐโดมินิกัน ปีเอ้ (DOM)
ชนะ 11–7
- - ประเทศจีน ฉ่วย (CHN)
แพ้ 4-6
2
พาณิภัค วงศ์พัฒนกิจ หญิง <49 กก. ประเทศกาบูเวร์ดี อันดราเด (CPV)
ชนะ 18–6 (PTG)
ประเทศเกาหลีใต้ คิม โซ ฮุย  (KOR)
แพ้ 5–6
ไม่ผ่านเข้ารอบ ประเทศเปรู ดิเอส (PER)
ชนะ 4-2
ประเทศเม็กซิโก  บาสติดาส (MEX)
ชนะ 15-3 (PTG)
ไม่ผ่านเข้ารอบ 3
พรรณนภา หาญสุจินต์ หญิง <57 กก. ประเทศสเปน คัลโว (ESP)
แพ้ 5−6
- - ประเทศอิหร่าน Kimia Alizadeh (IRI)
แพ้ 10-14
ไม่ผ่านเข้ารอบ 7

เทนนิส[แก้]

นักกีฬาเทนนิสจากประเทศไทยที่ได้รับโควตามีดังนี้[13]

นักกีฬา รายการ 32 คนสุดท้าย 16 คนสุดท้าย ก่อนรองชนะเลิศ รองชนะเลิศ ชิงชนะเลิศ / BM
ผล ผล ผล ผล ผล อันดับ
สรรค์ชัย รติวัฒน์
สนฉัตร รติวัฒน์
ชายคู่ ประเทศบราซิล แมลู /
โซอาเลส (BRA)
แพ้ 0–6, 6–7(1–7)
ไม่ผ่าน

ยกน้ำหนัก[แก้]

นักกีฬายกน้ำหนักของไทยมีคุณสมบัติเข้าแข่งขันรายการต่อไปนี้[14]

ชาย
นักกีฬา รายการ สแนตช์ คลีนแอนด์เจิร์ก สรุปผลรวม อันดับ
สรุปผล อันดับ สรุปผล อันดับ
วิทูรย์ มิ่งมูล –56 กก. 113 11 148 7 261 9
สินธุ์เพชร กรวยทอง 132 3 157 3 289 3
ไตรรัตน์ บุญสุข –69 กก. 137 17 179 8 316 12
จตุภูมิ ชินวงศ์ –77 กก. 165 4 191 6 356 4
ศรัท สุ่มประดิษฐ์ –94 กก. 177 3 213 4 390 4
หญิง
นักกีฬา รายการ สแนตช์ คลีนแอนด์เจิร์ก สรุปผลรวม อันดับ
สรุปผล อันดับ สรุปผล อันดับ
โสภิตา ธนสาร –48 กก. 92 1 108 1 200 1
สุกัญญา ศรีสุราช –58 กก. 110 1 130 1 240 1
พิมศิริ ศิริแก้ว 102 2 130 2 232 2
ศิริภุช กุลน้อย –63 กก. 108 3 132 DNF 108 DNF

อ้างอิง[แก้]

  1. Kittayarak, Kittipong. "Ratchanok to carry both Thai flag and hopes". Bangkok Post. สืบค้นเมื่อ 13 July 2016.
  2. "iaaf.org – Top Lists". IAAF. สืบค้นเมื่อ 18 April 2015.
  3. "IAAF Games of the XXX Olympiad – Rio 2016 Entry Standards" (PDF). IAAF. สืบค้นเมื่อ 18 April 2015.
  4. "Last 11 Olympic places awarded in Antalya". World Archery Federation. 17 June 2016. สืบค้นเมื่อ 17 June 2016.
  5. Sukumar, Dev (5 May 2016). "Provisional List of Olympic Qualifiers Published". Badminton World Federation. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-05-08. สืบค้นเมื่อ 5 May 2016.
  6. "Wuttichai earns spot at 2016 Olympics". Bangkok Post. 14 October 2015. สืบค้นเมื่อ 15 October 2015.
  7. "Olympic Rankings – Men". International Golf Federation. 11 July 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-08-24. สืบค้นเมื่อ 2016-07-14.
  8. "Olympic Rankings – Women". International Golf Federation. 11 July 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-07-20. สืบค้นเมื่อ 2016-07-14.
  9. "ทัพกีฬาไทยเฮ 'คุณาธิป' ได้โควตายูโดโอลิมปิก 2016". ไทยรัฐ. 29 พฤษภาคม 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-05-30. สืบค้นเมื่อ 31 พฤษภาคม 2016.
  10. "Quota places by Nation and Name". ISSF. 23 June 2014. สืบค้นเมื่อ 8 September 2014.
  11. "Bacosi wins her second skeet world cup Gold of the season at Larnaca's opening event". ISSF. สืบค้นเมื่อ 26 April 2015.
  12. "First Wave of 24 Taekwondo Athletes Qualifies for 2016 Rio Olympics". World Taekwondo Federation. 6 December 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-12-08. สืบค้นเมื่อ 7 December 2015.
  13. "ITF announces updated entries for Rio 2016 Olympics". International Tennis Federation. 19 July 2016. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-07-03. สืบค้นเมื่อ 29 July 2016.
  14. รายชื่อนักกีฬาและเจ้าหน้าที่ เข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกเกมส์ 2016 เก็บถาวร 2016-08-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน. สมาคมกีฬายกน้ำหนักสมัครเล่นแห่งประเทศไทย. 18 กรกฎาคม 2016. สืบค้นเมื่อ 18 กรกฎาคม 2016.