ประสาทชีววิทยา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ประสาทชีววิทยา (อังกฤษ: Neurobiology) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับเซลล์ชนิดต่างๆ ในระบบประสาท และการจัดระเบียบของเซลล์เหล่านี้ให้สามารถทำงานเชื่อมต่อกันเป็นวงจรเพื่อใช้ประมวลผลข้อมูลและการแสดงออกทางพฤติกรรม ประสาทชีววิทยาเป็นแขนงวิชาย่อยของชีววิทยาและประสาทวิทยาศาสตร์ ประสาทชีววิทยาแตกต่างจากประสาทวิทยาศาสตร์ซึ่งเป็นสาขาวิชาที่กว้างและเกี่ยวข้องกับการศึกษาระบบประสาทในหลายรูปแบบ นักวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาประสาทชีววิทยาเรียกว่านักประสาทชีววิทยา (neurobiologist)

เซลล์ประสาทและเซลล์เกลีย[แก้]

การทำงานของระบบประสาท[แก้]

การเกิดแอกชันโพเทนเชียล[แก้]

ภายใน axon เมื่อได้รับ Na เกิดมีประจุบวก เพิ่มขึ้น ส่วนภายนอกเนื่องจากเสีย Na ไปทำให้มีประจุลบ เรียกว่าภาวะลดความมีขั้วของaxon นั่นคือ depolarization ซึ่งวัดค่าความต่างศักย์ได้ +60 mV. การเปลี่ยนแปลงศักย์ไฟฟ้านี้ ทำให้เกิด Action potential

กระบวนการสร้างไซแนปส์และโครงสร้างของไซแนปส์[แก้]

สารสื่อประสาท ทรานสปอตเตอร์ ตัวรับ และ กลไกการส่งสัญญาณ[แก้]

สารสื่อประสาทสร้างจากภายในเซลล์ โดย RER (Rough Endoplamic Reticulum)จากนั้นก็ถูกส่งไปยังกอลจิบอดี (หรือกอลจิคอมเพล็กซ์) เพื่อทำการลำเลียงสู่ vesicle เรียกว่า Synaptic vesicle'

ไซแนปติก พลาสติซิตี้ (synaptic plasticity)[แก้]

ระบบประสาทสัมผัส[แก้]

การเจริญพัฒนาของระบบประสาท[แก้]

อ้างอิง[แก้]