นางงามจักรวาล 1996

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
นางงามจักรวาล 1996
พิธีกรบ็อบ โกเอ็น, มาร์ลา เมเปิลส์
สถานที่จัดลาสเวกัส, เนวาดา, สหรัฐอเมริกา
ถ่ายทอดทางซีบีเอส
เข้าร่วมประกวด79
ผ่านเข้ารอบ10
ถอนตัวกวม, ญี่ปุ่น, มอริเชียส, ไนจีเรีย, เซเชลส์, หมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกา, แซมเบีย
กลับมาเข้าร่วมอาร์เจนตินา, เบลเยียม, กานา, ฮอนดูรัส, เลบานอน, ซิมบับเว
ผู้ชนะเลิศอลิเซีย มาชาโด
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
นางงามมิตรภาพโจดี แม็คมัลเลน
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
ชุดประจำชาติยอดเยี่ยมอิลมิรา แชมซุตดิโนวา
ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย
ขวัญใจช่างภาพไอลีน เล็ง ดามิเลส
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์
← 1995
1997 →

นางงามจักรวาล 1996 (อังกฤษ: Miss Universe 1996) เป็นการจัดการประกวดนางงามจักรวาล ครั้งที่ 45 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2539 (ตามเวลาของประเทศไทย) ณ. ลาสเวกัส รัฐเนวาดา ประเทศสหรัฐอเมริกา ในปีนี้มีตัวแทนสาวงามเข้าร่วมประกวดทั้งหมด 79 ประเทศ โดยมี เชลซี สมิธ นางงามจักรวาล 1995 ได้มอบมงกุฏให้กับ อลิเซีย มาชาโด สาวงามจากประเทศเวเนซุเอลา ครองตำแหน่งนางงามจักรวาลประจำปีนี้

ผลการประกวด[แก้]

ลำดับที่[แก้]

ผลการประกวด ผู้เข้าประกวด
นางงามจักรวาล 1996
รองอันดับ 1
รองอันดับ 2
6 คนสุดท้าย
10 คนสุดท้าย

คะแนนในรอบตัดสิน[แก้]

รางวัลพิเศษ[แก้]

รางวัล ผู้เข้าประกวด
ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม
  • ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย - อิลมิรา แชมซุตดิโนวา (ชนะเลิศ)
  • ธงของประเทศเม็กซิโก เม็กซิโก - วาเนสซา กุสมาน (รองอันดับ 1)
  • ธงของประเทศกรีซ กรีซ - นินา จอร์กาลา (รองอันดับ 2)
นางงามมิตรภาพ
ขวัญใจช่างภาพ
ชุดว่ายน้ำยอดเยี่ยม โดย แจนท์เซน
สไตล์ยอดเยี่ยม โดย ฟินเนสเซ่

ลำดับการประกาศชื่อ[แก้]

คณะกรรมการ[แก้]

รายชื่อคณะกรรมการในวันตัดสิน ประกอบไปด้วย:

  • เมาด์ อดัมส์ – นักแสดง
  • จิม แนนต์ซ – นักพากษ์กีฬา
  • เทริ แอน ลินน์ – นักแสดง
  • เออร์วิน กูตาวา – โปรดิวเซอร์และนักแต่งเพลง
  • สตาร์เลตตา ดูพอยส์ – นักแสดง
  • อลิซาเบธ ซุง – นักแสดง
  • ทิม แชปเพล – นักออกแบบเครื่องแต่งกาย เจ้าของรางวัลออสการ์
  • ซีซิเลีย โบล็อกโค – นางงามจักรวาล 1987
  • เฟรด วิลเลียมสัน – นักแสดง

ผู้เข้าประกวด[แก้]

รายละเอียดของการประกวด[แก้]

  • ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา ได้รับตำแหน่งนางงามจักรวาลเป็นคนที่ 4 ของประเทศ
  •  สหรัฐ ผ่านเข้ารอบเป็นปีที่ 20 ติดต่อกัน
  • ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา ผ่านเข้ารอบเป็นปีที่ 14 ติดต่อกัน
  • ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย ผ่านเข้ารอบเป็นปีที่ 5 ติดต่อกัน
  • ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย ชนะรางวัล นางงามมิตรภาพ เป็นครั้งแรก
  • ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ชนะรางวัล ชุดประจำชาติยอดเยี่ยม เป็นครั้งแรก
  • ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์ ชนะรางวัล ขวัญใจช่างภาพ เป็นครั้งที่สาม

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]