ตราแผ่นดินของเบอร์มิวดา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ตราแผ่นดินของเบอร์มิวดา
รายละเอียด
ผู้ใช้ตราสมเด็จนางเจ้าวิกตอเรีย (ประกาศใช้ครั้งแรก)
สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 7 (แก้ไขเพิ่มเติมและประกาศใช้แบบตราปัจจุบัน)
เริ่มใช้พ.ศ. 2418(ตราอาณานิคมแบบแรก)
4 กรกฎาคม พ.ศ. 2451 (ประกาศใช้แบบตราปัจจุบัน)
โล่สิงห์โตคาลีบานถือโล่อันเล็ก (สิงห์โตคาลีบาน คือสัตว์ในตำนานเป็นมนุษย์ที่มีอุปนิสัยคล้ายสัตว์ตัวหนึ่ง) โล่แสดงภาพเรือเดินสมุทรชนโขดหินโสโครกจนล่มลงท้องทะเล ในมหาสมุทรมีเกลียวคลื่นเกิดจากฟองของแก๊สมีเทน
คำขวัญลิทัวเนีย: "Quo Fata Ferunt"" ("")
การใช้รัฐบาลเบอร์มิวดา ในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร

ตราแผ่นดินของเบอร์มิวดาเริ่มใช้เมื่อ พ.ศ. 2453 โดยมีที่มาจากเหตุการณ์ที่เรือของอังกฤษที่นำโดยเซอร์จอร์จ ซอมเมอร์แตกอยู่ นอกชายฝั่งเบอร์มิวดาระหว่างทางมุ่งสู่เวอร์จิเนีย ภาพทีอยู๋ในโล่ที่สิงห์โตคาลีบานถือโล่อันเล็ก (สิงห์โตคาลีบาน คือสัตว์ในตำนานเป็นมนุษย์ที่มีอุปนิสัยคล้ายสัตว์ตัวหนึ่ง) โล่แสดงภาพเรือเดินสมุทรชนโขดหินโสโครกจนล่มลงท้องทะเล ในมหาสมุทรมีเกลียวคลื่นเกิดจากฟองของแก๊สมีเทน โดยแก๊สดังกล่าวอยู่ใต้ท้องทะเลในบริเวณสามเหลี่ยมเบอร์มิวดา โดยเมื่อแก๊สเหล่านี้ขึ้นสู่พื้นผิว มันจะทะยานสู่อากาศ และขยายตัวเป็นวงกว้างและก่อตัวเป็นฟองแก๊สขนาดใหญ่ เมื่อเรือลำใดผ่านเข้าไปในบริเวณนั้น ก็จะเข้าไปสู่ฟองแก๊สมีเทนขนาดยักษ์ จนทำให้เรือเหล่านี้สูญเสียการควบคุม และจมลงในที่สุด ซึ่งตราอาณานิคมดังที่ได้กล่าวมาข้า่งต้น โดยมูลเหตุของการออกแบบตราดังกล่าวนี้ บอกเล่าถึงที่มาของอาณานิคมแห่งนี้ว่าผู้ก่อตั้งอาณานิคมเป็นลูกเรือซีเวนเจอร์ (Sea Venture) ซึ่งจมลงในปี ค.ศ. 1609 (พ.ศ. 2152) โดยมาจากวรรณกรรมของ วิลเลียม เชคสเปียร์ ที่ประพันธ์บทละครเรื่องหนึ่ง ชื่อเรื่อง The Thempest ขึ้นในปี พ.ศ. 2154 สิงห์โตคาลีบานถือโล่ที่บรรจุภาพดังกล่าว อันเล็ก อยู่ในโล่ใหญ่พื้นสีขาวโดย สิงห์โตคาลีบานยืนถือโล่อันเล็กบนแถบสีเขียวขนาดเล็ก ที่บนผืนหญ้า

ตราแผ่นดิน (ตราอาณานิคม) ในยุคแรกเมื่อปีค.ศ. 1875 (พ.ศ. 2418) โดยมีลักษณะเป็นรูปเรือสามลำที่แล่นในมหาสมุทร โดยเรือลำใหญ่ที่อยู่ตรงกลางกำลังแล่นเข้าสู่อู่แห้ง ซึ่งสันนิษฐานว่าในความเป็นจริงที่ว่าเกาะแห่งนี้คือฐานสำหรับการหยุดพักระหว่างการสัญจรทางเรือ[1]

อ้างอิง[แก้]


ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]