ดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โลกในปี 1945 ดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติแสดงด้วยสีเขียว

ดินแดนในภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ (อังกฤษ: United Nations Trust Territories) เป็นผู้สืบทอดดินแดนในอาณัติของสันนิบาตชาติ (League of Nations mandates) โดยเริ่มเกิดขึ้นมาเมื่อสันนิบาตชาติถูกยุบในปี 1946

ดินแดนในภาวะทรัสตี (และอำนาจการปกครอง)[แก้]

อดีตการครอบครองของเยอรมนี[แก้]

ทั้งหมดนี้เดิมเคยเป็นดินแดนในอาณัติสันนิบาตชาติ

อดีตอาณานิคมของเยอรมนีและญี่ปุ่น[แก้]

อาณาเขตตำรวจปาเลาต้อนรับการมาเยือนของคณะผู้แทนยูเอ็น จากดินแดนในภาวะทรัสตีหมู่เกาะแปซิฟิก (1973)
การมาถึงของคณะผู้แทนยูเอ็น ใน มาจูโร, ดินแดนในภาวะทรัสตีหมู่เกาะแปซิฟิก (1978). The sign reads "Please release us from the bondage of your trusteeship agreement."

ทั้งหมดนี้เดิมเคยเป็นดินแดนในอาณัติสันนิบาตชาติ

อดีตการครอบครองของอิตาลี[แก้]

ดินแดนในภาวะทรัสตีที่มีการเสนอ[แก้]

  • เกาหลี: ในการพูดยามสงครามของแฟรงกลิน ดี. โรสเวลต์ มอบหมายเรื่องเกาหลีเป็นการเจรจาภายใต้อเมริกาโซเวียต ในอำนาจทรัสตี การวางแผนอยู่ได้เกิดการเสียอำนาจหลังการตายโรสเวลต์ในวันที่ 12 เมษายน 1945 อย่างไรก็ตามมันเป็นเรืองชัดเจนในเดือนธันวาคม Moscow Conference และเป็นสาเหตุสำคัญในความวุ่นวายทางการเมืองในเกาหลี[1]

อ้างอิง[แก้]

  1. Gang Man-gil (1994). "한국사 17: 분단구조의 정착 1" ["17 Korean history: the settlement of the division structure 1"], pp. 133–137. 한길사 [Hangilsa], ISBN 978-89-356-0086-1