ดับเบิลยูซีดับเบิลยู มันเดย์ ไนโตร

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ดับเบิลยูซีดับเบิลยู มันเดย์ ไนโตร
โลโก้ของ ดับเบิลยูซีดับเบิลยู มันเดย์ ไนโตร ใช้ตั้งแต่ 5 เมษายน ค.ศ. 1999 - 26 มีนาคม ค.ศ. 2001
ประเภทมวยปล้ำอาชีพ
สร้างโดยเท็ด เทอเนอร์
เอริก บิสชอฟฟ์
แสดงนำSee World Championship Wrestling alumni
ดนตรีแก่นเรื่องเปิด"Purity V.3" (4 กันยายน ค.ศ. 1995 - 29 มีนาคม ค.ศ. 1999
"Adrenaline V.1" โดยพูริตี (5 เมษายน ค.ศ. 1999 - 26 มีนาคม ค.ศ. 2001)
ประเทศแหล่งกำเนิดสหรัฐ
จำนวนตอน284 ตอน
การผลิต
กล้องMulticamera setup
ออกอากาศ
ออกอากาศ4 มีนาคม ค.ศ. 1995 (1995-03-04) –
26 มีนาคม ค.ศ. 2001 (2001-03-26)
การแสดงที่เกี่ยวข้อง
ดับเบิลยูซีดับเบิลยู ทันเดอร์

ดับเบิลยูซีดับเบิลยู มันเดย์ ไนโตร (อังกฤษ: WCW Monday Nitro) เป็นรายการโทรทัศน์ที่เกี่ยวกับมวยปล้ำอาชีพ ของ เวิลด์แชมเปี้ยนชิพเรสต์ลิง (ดับเบิลยูซีดับเบิลยู) โดยออกอากาศทุกวันจันทร์ ตั้งแต่วันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 1995-26 มีนาคม ค.ศ.2001 ทางช่องTNT

ตอนแรก[แก้]

ในตอนแรกของ ไนโตร นั้นได้ออกอากาศครั้งแรกจากศูนย์การค้ามอลล์ออฟอเมริกา ณ.เมืองมินนีแอโพลิส ,สหรัฐอเมริกา ในวันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 1995 โดยจุดเด่นของรายการตอนแรกอยู่ที่แมตช์การปล้ำระหว่าง ไบรอัน พิลล์แมน ปะทะ จูชิง "ทันเดอร์" ไลเกอร์ ,ริค แฟลร์ ปะทะ แชมป์ยูเอสเฮฟวี่เวทของ WCW สติง และแชมป์โลก WCW ฮัลค์ โฮแกน ปะทะ บิ๊ก บับบา โรเจอส์ นอกจากนี้รายการได้กลายเป็นไฮไลต์สำคัญโดยการกลับมาของเล็ค ลูเกอร์ ใน WCW หลังจากได้หายไปปล้ำใน WWF มาถึง 2 ปี ที่เขาเคยเป็นหนึ่งในผู้โปรโมดท็อปดารา

มันเดย์ไนท์ วอร์[แก้]

การถือกำเนิดของ ดับเบิลยูซีดับเบิลยู มันเดย์ ไนโตร โดยมาด้วยการแข่งขันทางธุรกิจที่รุนแรงระหว่างรายการของ WWF มันเดย์ไนท์ รอว์ การแข่งขันทางธุรกิจนี้ทำให้เป็นที่รู้จักกันดีของแฟน ๆ มวยปล้ำในชื่อ มันเดย์ไนท์ วอร์ ระหว่าง Eric Bischoff และ Vince McMahon โดยไนโตรได้รับการดึงดูดความนิยมไปจาก WWF ด้วยความชาญฉลาดของเขา ต่อมาไม่นานรายการ ไนโตร ได้เป็นรายการที่ดีกว่า รอว์ ในการจัดเรตติ้งรายการโทรทัศน์ โดย มันเดย์ ไนโตร เอาชนะ รอว์ ในการจัดดเรตติ้งเป็น 84 สัปดาห์ติดต่อกัน[1]

ความสำเร็จครั้งแรก[แก้]

ในขั้นต้น ไนโตร ได้กลายเป็นที่นิยมเป็นผลมาจากซุปเปอร์สตาร์ของ WCW โดยเฉพาะ ฮัลค์ โฮแกน กับแรนดี ซาเวจ เป็นซุเปอร์สตาร์บางส่วนที่สำคัญของนับตั้งแต่เซ็นสัญญากับ WCW และปรากฏตัวในไนโตร และเหล่านักมวยปล้ำรุ่นครูย์เซอเวทตัวเล็กและกระโดดลอยฟ้า ด้วยการเปิดตัวของ นิวเวิลด์ออร์เดอร์ รายการไนโตรได้เริ่มออกอากาศเรตติ้งครอบงำที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน ด้วยอดีตนักมวยปล้ำของ WWF อย่าง เควิน แนช ,สก็อตต์ ฮอลล์ และโฮแกน (ซึ่งตอนนั้นเรียกตัวเองว่า ฮอลลีวู้ด โฮแกน) ได้เป็นทีมฝ่ายอธรรม บริษัทดูเหมือนจะมีการชนะในเนื้อเรื่อง และอนาคตที่ดี นับตั้งแต่ ไนโตร ถ่ายทอกสด และ รอว์ ได้รับการบันทึกเทปบ่อยครั้ง ไนโตร ถูกมองว่าการคาดการณ์ได้น้อยกว่า และทำให้ความบันเทิงมากกว่าคู่แข่ง WWF ซึ่งในตอนแรกได้ฉาย 60 นาทีต่อตอน และต่อมาก็ได้ขยายเวลาเป็น 2 ชั่วโมงต่อตอนตามรายการ 1996 NBA Playoffs ในขณะที่รอว์ ได้จนเกือบหนึ่งปีเต็ม หลังจากนั้นก็ได้ขยายเป็น 2 ชั่วโมง ไนโตรยังคงเป็นรายการ 2 ชั่วโมงจากเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1996 จนถึงมกราคม ค.ศ. 1998 เมื่อ WCW และตกลงกับ TNT ในการฉาย 3 ชั่วโมง เพื่อรักษาความเป็นรายการมวยปล้ำอับดับ 1 ของประเทศ

ตอนพิเศษ[แก้]

ชื่อตอน วันที่ การให้คะแนน หมายเหตุ
WCW Monday Nitro 4 กันยายน ค.ศ. 1995 2.5 เป็นตอนแรกของ WCW Monday Nitro
nWo Monday Nitro 22 ธันวาคม ค.ศ. 1997 3.5 The nWo organized a complete takeover of Nitro six days before Starrcade.
The Fingerpoke of Doom 4 มกราคม ค.ศ. 1999 5.0 Goldberg was arrested before his title match for the World Heavyweight Title. This resulted in over 600,000 viewers switching to Raw to see Mankind win the WWF title.

See above for more information.

WarGames 2000 4 กันยายน ค.ศ. 2000 3.6 On the fifth anniversary of the premiere, a WarGames match took place in a three-tiered cage between two teams for the world championship.  Kevin Nash retained the title.
เดอะไนท์ออฟแชมเปี้ยนส์ 26 มีนาคม ค.ศ. 2001 3.0 เป็นตอนสุดท้ายของ WCW Monday Nitro หลังจากนั้น WCW ก็ถูกซื้อกิจการ โดย WWF

 

เดอะไนท์ออฟแชมเปี้ยนส์ – ตอนสุดท้าย[แก้]

เป็นตอนสุดท้ายของ WCW Monday Nitro ก่อนที่ Vince K .Mcmahon จะซื้อกิจการมวยปล้ำของ WCW  

แมทช์การปล้ำตอนสุดท้าย[แก้]

# แมทช์การปล้ำ กำหนดการปล้ำ เวลาการปล้ำ
1 บูเกอร์ ที ชนะ สก็อทท์ สไตเนอร์ แมทช์การปล้ำ ชิงแชมป์ WCW World Heavyweight Championship และ แชมป์WCW United States Heavyweight Championship 5:08
2 ฟิลธี แอนิมอล (เรย์ มิสเตริโอ จูเนียร์ และ บิลลี คิดแมน) ชนะ 3 เค้าน์ (เชนนอน มออร์และ อีเว่น คาราเกียส์) และ จั้ง ดราก้อนส (แคซ ฮายาชิ และ ยัง) แมทช์การปล้ำ Three – Way Dance (สามเส้าแทกทีม) เพื่อหาผู้ท่าชิงแชมป์ WCW Cruiserweight Tag Team Championship 3:37
3 "ชูกา" เชน เฮลมส์ (c) ชนะ ชาโว เกอเรโร จูเนียร์ แมทช์การปล้ำ ชิงแชมป์ WCW Cruiserweight Championship 4:38
4 ซีน โอ'แฮร์ และ ชัก พอลลัมโบ (c)  ชนะ ทีมแคนนาดา (ไมค์ ออสสัม และ แลนซ์ สตรอม) แมทช์การปล้ำแทกทีม เพื่อ ชิงแชมป์ WCW World Tag Team Championship 3:20
5 Shawn Stasiak (พร้อมด้วย Stacy Keibler) ชนะBam Bam Bigelow Loser Gets A Tattoo match 1:24
6 ฟิลธี แอนิมอล (เรย์ มิสเตอริโอ จูเนียร์ และ บิลลี่ คิดแมน) ชนะ "พรามไทม์" อีลิก สคิปเปอร์ และ คิด โรมีโอ  (c) แมทช์การปล้ำแทกทีม เพื่อ ชิงแชมป์ WCW Cruiserweight Tag Team Championship 4:43
7 สติง ชนะ  ริก แฟลร์ แมทช์การปล้ำเดียว 7:19
(c) – หมายถึงยังคงเป็นแชมป์อยู่ก่อนเริ่มการปล้ำ

   

ผู้บรรยาย[แก้]

ผู้บรรยาย วันที่บรรยาย
อิริก บิสชอฟฟ์, บ็อบบี้ ฮีแนน และ สตีฟ "มอนโก" แมคไมเคิลส์ 4 กันยายน ค.ศ. 1995 - 20 พฤษภาคม ค.ศ. 1996
โทนี สเชียวอน และ ลาร์รี สบาย์สโก* 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1996 - 29 กรกฎาคม ค.ศ. 1996
5 สิงหาคม ค.ศ. 1996 - 26 สิงหาคม ค.ศ. 1996
อิริก บิสชอฟฟ์ และ บ็อบบี้ ฮีแนน* 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1996 - 22 กรกฎาคม ค.ศ. 1996
5 สิงหาคม ค.ศ. 1996 - 26 สิงหาคม ค.ศ. 1996
โทนี สเชียวอน, ลาร์รี สบาย์สโก และ อิริก บิสชอฟฟ์ 29 กรกฎาคม ค.ศ. 1996
อิริก บิสชอฟฟ์, บ็อบบี้ ฮีแนน และ ไมค์ เทเนย์* 2 กันยายน ค.ศ. 199618 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996
โทนี สเชียวอน, ไมค์ เทเนย์ และ ลาร์รี สบาย์สโก* 25 สิงหาคม ค.ศ. 199712 เมษายน ค.ศ. 1999
โทนี สเชียวอน, บ็อบบี้ ฮีแนน และ ไมค์ เทเนย์* 25 พฤศจิกายน ค.ศ. 1996 - 12 เมษายน ค.ศ. 1999
20 ธันวาคม ค.ศ. 1999 - 24 มกราคม ค.ศ. 2000
โทนี สเชียวอน และ บ็อบบี้ ฮีแนน 12 เมษายน ค.ศ. 1999 - 24 พฤษภาคม ค.ศ. 1999
31 พฤษภาคม ค.ศ. 1999 - 12 กรกฎาคม ค.ศ. 1999
9 สิงหาคม ค.ศ. 1999 - 13 ธันวาคม ค.ศ. 1999
สก็อทท์ ฮัดสัน และ บ็อบบี้ ฮีแนน 19 กรกฎาคม ค.ศ. 19992 สิงหาคม ค.ศ. 1999
โทนี สเชียวอน, มาร์ก แมดเดน และ ไมค์ เทเนย์ 31 มกราคม ค.ศ. 2000
โทนี สเชียวอน และ มาร์ก แมดเดน 7 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 200027 มีนาคม ค.ศ. 2000
28 สิงหาคม ค.ศ. 2000
โทนี สเชียวอน, มาร์ก แมดเดน และ สก็อทท์ ฮัดสัน 10 เมษายน ค.ศ. 200010 กรกฎาคม ค.ศ. 2000
24 กรกฎาคม ค.ศ. 200021 สิงหาคม ค.ศ. 2000
19 กันยายน ค.ศ. 20002 ตุลาคม ค.ศ. 2000
30 ตุลาคม ค.ศ. 200013 พฤศจิกายน ค.ศ. 2000
4ธันวาคม ค.ศ. 2000 - 18 ธันวาคม ค.ศ. 2000
โทนี สเชียวอน, สตีฟวี เรย์ และ มาร์ก แมดเดน 18 กรกฎาคม ค.ศ. 2000
9 ตุลาคม ค.ศ. 2000 - 23 ตุลาคม ค.ศ. 2000
โทนี สเชียวอน, มาร์ก แมดเดน และ เจเรมี โบแรช 4 กันยายน ค.ศ. 2000 - 11 กันยายน ค.ศ. 2000
โทนี สเชียวอน, สตีฟวี เรย์ และ ไมค์ เทเนย์ 13 พฤศจิกายน ค.ศ. 2000
โทนี สเชียวอน, สตีฟวี เรย์ และ สก็อทท์ ฮัดสัน 11 ธันวาคม ค.ศ. 2000
โทนี สเชียวอน, สก็อทท์ ฮัดสัน และ ดิสโก อินเฟอโน 8 มกราคม ค.ศ. 2001
โทนี สเชียวอน และ สก็อทท์ ฮัดสัน 15 มกราคม ค.ศ. 2001 - 26 มีนาคม ค.ศ. 2001

ผู้ประกาศ[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Powers, Kevin (March 5, 2012). "The History of WCW". WWE. สืบค้นเมื่อ March 28, 2012.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]