ซามารินดา

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ซามารินดา
นครซามารินดา
Kota Samarinda
จากบน ซ้ายไปขวา: รีสอร์ต Grand Barumbay, อาคารราชการ, ทางเข้าสนามกีฬาหลักในกาลีมันตันตะวันออก, รูปปั้น เลิมบุซวานา, อาคารมุขมณฑลซามารินดาของคาทอลิก, วิหารเอกาดาร์มามังกาลา และมัสยิดศูนย์อิสลามซามารินดา
จากบน ซ้ายไปขวา:
รีสอร์ต Grand Barumbay, อาคารราชการ, ทางเข้าสนามกีฬาหลักในกาลีมันตันตะวันออก, รูปปั้น เลิมบุซวานา, อาคารมุขมณฑลซามารินดาของคาทอลิก, วิหารเอกาดาร์มามังกาลา และมัสยิดศูนย์อิสลามซามารินดา
ธงของซามารินดา
ธง
ตราราชการของซามารินดา
ตราอาร์ม
คำขวัญ: 
Samarinda Kota Tepian
เพลง: "มาร์ชโกตาเตอปียัน"
ที่ตั้งในจังหวัดกาลีมันตันตะวันออก
ซามารินดาตั้งอยู่ในเกาะบอร์เนียว
ซามารินดา
ซามารินดา
ที่ตั้งบนเกาะบอร์เนียว
พิกัด: 0°29′59.874″S 117°8′15.9324″E / 0.49996500°S 117.137759000°E / -0.49996500; 117.137759000พิกัดภูมิศาสตร์: 0°29′59.874″S 117°8′15.9324″E / 0.49996500°S 117.137759000°E / -0.49996500; 117.137759000
ประเทศ อินโดนีเซีย
จังหวัด จังหวัดกาลีมันตันตะวันออก
ก่อตั้งค.ศ. 1668
การปกครอง
 • นายกเทศมนตรีอันดี ฮารุน
 • รองนายกเทศมนตรีรุซมาดี วงโซ
 • ประธานสภานิติบัญญัติซูกีโยโน
 • หัวหน้าผู้พิพากษาฮงกุน โอโตะฮ์
พื้นที่
 • ทั้งหมด718.00 ตร.กม. (277 ตร.ไมล์)
ความสูง8 เมตร (26 ฟุต)
ความสูงจุดสูงสุด[1][2][3] (ปุนจักซามารินดา)260 เมตร (850 ฟุต)
ประชากร
 (สำมะโน 2021)[4]
 • ทั้งหมด831,460 คน
 • อันดับ(อันดับที่ 18)
 • ความหนาแน่น1,158 คน/ตร.กม. (2,999 คน/ตร.ไมล์)
ประชากร
 • ศาสนา[5]อิสลาม 90.93%
โปรเตสแตนต์ 5.25%
คาทอลิก 2.12%
พุทธ 0.86%
ฮินดู 0.12%
ลัทธิขงจื๊อ 0.08%
อื่น ๆ 0.01%
เขตเวลาUTC+08:00 (WITA)
รหัสพื้นที่+62541
ศูนย์กลางการบริการบูกิซ[6]
ตำบลที่มีประชากรมากสุดซูไงกุนจัง[4]
รูปแบบวันที่dd-mm-yyyy
ขับทางซ้าย

ซามารินดา (อินโดนีเซีย: Samarinda) เป็นเมืองหลักของจังหวัดกาลีมันตันตะวันออก บนเกาะบอร์เนียว ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำมาฮากัม โดยมีพื้นที่ 718 ตารางกิโลเมตร (277 ตารางไมล์) ซามารินดามีค่าดัชนีการพัฒนามนุษย์อยู่ในอันดับที่ 1 ของจังหวัดกาลีมันตันตะวันออก[7] และเป็นนครที่มีประชากรมากที่สุดในเกาะบอร์เนียว โดยมีประชากรตามสำมะโน ค.ศ. 2010 ที่ 727,500 คน[8] และ 827,994 คนจากสำมะโน ค.ศ. 2020[9]

ตำบล[แก้]

ในช่วงที่มีการบันทึกสำมะโน ค.ศ. 2010 นครซามารินดาแบ่งออกเป็น 6 ตำบล ส่วนอีก 4 ตำบลตั้งขึ้นโดยแยกพื้นที่จากตำบลเดิม ตารางข้างล่างมีข้อมูลตำบลสิบตำบลพร้อมพื้นที่และประชากรในสำมะโน ค.ศ. 2010[10] และสำมะโน ค.ศ. 2020[9]

ชื่อ พื้นที่
ตารางกิโลเมตร
ประชากร
ในสำมะโน ค.ศ. 2010
ประชากร
ในสำมะโน ค.ศ. 2020
ปาลารัน 221.29 49,079 63,189
ซามารินดาอีลีร์
(ซามารินดาตอนล่าง)
17.18 120,936 69,142
ซามารินดาโกตา
(เมืองซามารินกดา)
11.12 (ก) 31,719
ซัมบูตัน 100.95 (ก) 57,941
ซามารินดาเซอเบอรัง 12.49 114,183 64,050
โลอาจานันอีลีร์ 26.13 (ข) 65,892
ซูไงกุนจัง
(แม่น้ำกุนจัง)
43.04 114,044 133,543
ซามารินดาอูลู
(ซามารินดาตอนบน)
22.12 126,651 129,806
ซามารินดาอูตารา
(ซามารินดาเหนือ)
229.52 202,607 106,743
ซูไงปีนัง
(แม่น้ำปีนัง)
34.16 (ค) 105,970
รวม 718.00 727,500 827,994

หมายเหตุ: (ก) ประชากรของตำบลซามารินดาโกตาและซัมบูตันใน ค.ศ. 2010 อยู่ในจำนวนของตำบลซามารินดาอีลีร์ใน ค.ศ. 2010 ซึ่งภายหลังแยกออกเป็นตำบลใหม่ (ข) ประชากรของตำบลโลอาจานันอีลีร์ใน ค.ศ. 2010 อยู่ในจำนวนของตำบลซามารินดาเซอเบอรัง ซึ่งภายหลังแยกออกเป็นตำบลใหม่ (ค) ประชากรของตำบลซูไงปีนังใน ค.ศ. 2010 อยู่ในจำนวนของตำบลซามารินดาอูตารา ซึ่งภายหลังแยกออกเป็นตำบลใหม่

ภูมิอากาศ[แก้]

ซามารินดามีสภาพภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น (เคิพเพิน Af) ที่มีฝนชุกและร้อน อุณหภูมิชื้นตลอดปี นครนี้แทบไม่มีลูกเห็บ ซึ่งมีการบันทึกในวันที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 2019[11][12] อุณหภูมิต่ำสุดเท่าที่บันทึกอยู่ที่ 18.0 องศาเซลเซียส (64.4 องศาฟาเรนไฮต์) ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1982[13]

ข้อมูลภูมิอากาศของซามารินดา
เดือน ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ทั้งปี
อุณหภูมิสูงสุดเฉลี่ย °C (°F) 30.0
(86)
30.3
(86.5)
30.5
(86.9)
30.5
(86.9)
30.5
(86.9)
29.9
(85.8)
29.5
(85.1)
29.9
(85.8)
30.1
(86.2)
30.8
(87.4)
30.5
(86.9)
30.4
(86.7)
30.24
(86.44)
อุณหภูมิเฉลี่ยแต่ละวัน °C (°F) 26.5
(79.7)
26.7
(80.1)
26.8
(80.2)
27.0
(80.6)
27.2
(81)
26.7
(80.1)
26.3
(79.3)
26.6
(79.9)
26.8
(80.2)
27.3
(81.1)
26.9
(80.4)
26.9
(80.4)
26.81
(80.26)
อุณหภูมิต่ำสุดเฉลี่ย °C (°F) 23.1
(73.6)
23.1
(73.6)
23.2
(73.8)
23.5
(74.3)
23.9
(75)
23.6
(74.5)
23.1
(73.6)
23.4
(74.1)
23.5
(74.3)
23.8
(74.8)
23.4
(74.1)
23.4
(74.1)
23.42
(74.15)
ปริมาณฝน มม (นิ้ว) 166
(6.54)
173
(6.81)
202
(7.95)
236
(9.29)
181
(7.13)
168
(6.61)
160
(6.3)
148
(5.83)
118
(4.65)
145
(5.71)
196
(7.72)
209
(8.23)
2,102
(82.76)
แหล่งที่มา: [14]

อ้างอิง[แก้]

  1. "Puncak Samarinda, Kalimantan Timur Cocok Dijadikan Tempat Camping". Tribun Kaltim Travel. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 September 2021. สืบค้นเมื่อ 26 September 2021.
  2. "Indahnya Pesona Alam dari Puncak Samarinda". Klik Samarinda. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 September 2021. สืบค้นเมื่อ 26 September 2021.
  3. "Puncak Samarinda, Berkemah di Atas Awan". Traveling Yuk. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 September 2021. สืบค้นเมื่อ 26 September 2021.
  4. 4.0 4.1 "Samarinda in Figures, 2022". BPS Samarinda (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 31 May 2022.
  5. Data Sensus Penduduk 2010 - Badan Pusat Statistik Republik Indonesia <http://sp2010.bps.go.id/index.php/site/tabel?tid=321&wid=6400000000&lang=id>
  6. "Pemindahan Pusat Pemerintahan kota Samarinda Tinggal Tunggu Walikota". Nomor Satu Kaltim. 13 April 2021. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-31. สืบค้นเมื่อ 31 May 2022.
  7. "Samarinda in Figures 2021". BPS Samarinda. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 September 2021. สืบค้นเมื่อ 25 September 2021.
  8. Statistics of Samarinda Municipality. 2018. Samarinda Dalam Angka 2018. Statistics of Samarinda Municipality, Samarinda.
  9. 9.0 9.1 Badan Pusat Statistik, Jakarta, 2021.
  10. Biro Pusat Statistik, Jakarta, 2011.
  11. "Hujan Es di Samarinda Seberang, Biasanya Terjadi di Awal Musim Hujan". Tribun News. 21 November 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 September 2021. สืบค้นเมื่อ 28 September 2021.
  12. "Viral, Hujan Es Bikin Heboh Warga Samarinda". IDN Times. 21 November 2019. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 September 2021. สืบค้นเมื่อ 28 September 2021.
  13. "Samarinda Alami Fenomena Aphelion, Apa Itu?". Samarinda Post. 7 July 2021. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 28 September 2021. สืบค้นเมื่อ 28 September 2021.
  14. "Samarinda climate: Average Temperature, weather by month, Samarinda weather averages - Climate-Data.org". en.climate-data.org. สืบค้นเมื่อ 2021-12-25.

ข้อมูล[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]