ชาวญวน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ญวน
người Việt, người Kinh
สตรีชาวญวนสวมชุดอ๊าวส่ายซึ่งเป็นเครื่องแต่งกายประจำชาติ
ประชากรทั้งหมด
89,000,000 คน
ภูมิภาคที่มีประชากรอย่างมีนัยสำคัญ
ธงของประเทศเวียดนาม เวียดนาม82,085,826 (2019)[1]
 สหรัฐ2,067,527 (2016)[2]
ธงของประเทศกัมพูชา กัมพูชา400,000-1,000,000[3][4][5]
ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น420,415 (2020)[6]
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส~400,000[7][8]
ธงของสาธารณรัฐจีน ไต้หวัน320,000 (2019)[9]
ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย>300,000 (2018)[10][11]
ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา240,514[12]
ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้224,518 (2020)[13]
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี188,000 (2019)[14]
ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย150,000[15]
ธงของประเทศลาว ลาว122,000[16]
 ไทย100,000[17]
ธงของประเทศเช็กเกีย เช็กเกีย90,000[18]
ธงของประเทศมาเลเซีย มาเลเซีย80,000[19]
ธงของประเทศโปแลนด์ โปแลนด์60,000-80,000[20]
ธงของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร50,000-100,000[21]
ธงของประเทศแองโกลา แองโกลา45,000[22]
ธงของประเทศยูเครน ยูเครน10,000-50,000[23][24]
ธงของประเทศจีน จีน36,205 (2010)[a]//28,199 (2010)[b][25][26]
ธงของประเทศฟิลิปปินส์ ฟิลิปปินส์27,600
ธงของประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์27,366 (2020)[27]
ธงของประเทศเนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์23,488 (2019)[28]
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน20,676 (2020)[29]
ธงของมาเก๊า มาเก๊า~20,000 (2018)[30]
ธงของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์20,000[31]
ธงของประเทศซาอุดีอาระเบีย ซาอุดีอาระเบีย20,000[32][33][34]
ธงของประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก15,953 (2020)[35]
ธงของประเทศเบลเยียม เบลเยียม14,000 (2012)[36]
ธงของประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์12,051[37]
ธงของประเทศสิงคโปร์ สิงคโปร์12,000 (2012)[38]
ธงของประเทศไซปรัส ไซปรัส>12,000[39][40]
ธงของประเทศสโลวาเกีย สโลวาเกีย5,565-20,000[41][42]
ธงของประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์10,086 (2018)[43]
ธงของประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์~8,000[44]
ธงของประเทศฮังการี ฮังการี7,304 (2016)[45]
ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี5,000[46]
ธงของประเทศออสเตรีย ออสเตรีย5,000[47]
ธงของประเทศโรมาเนีย โรมาเนีย3,000[48]
ธงของประเทศบัลแกเรีย บัลแกเรีย2,500[49]
ภาษา
เวียดนาม
ศาสนา
ส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธนิกายมหายาน ร่วมกับลัทธิเต๋า โดยมีพื้นฐานของลัทธิขงจื๊อ บางส่วนนับถือศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก, ลัทธิฮว่าเหา, ลัทธิกาวด่าย และนิกายโปรเตสแตนต์เป็นส่วนน้อย[50]
กลุ่มชาติพันธุ์ที่เกี่ยวข้อง
จิง, เหมื่อง และประชาชนทางตอนใต้ของจีน

ชาวญวน หรือ ชาวเวียดนาม (เวียดนาม: người Việt) หรือ กิญ (เวียดนาม: người Kinh) ภาษาไทยถิ่นอีสานและลาวเรียกว่า แกว[note 1] เป็นประชากรหลักของประเทศเวียดนาม และกระจายตัวอยู่ทางตอนใต้ของประเทศจีน เรียกว่า จิง (จีน: 京族; พินอิน: Jīngzú)[51]

จากการวิจัยของโรงพยาบาลแซ็ง-ลูยในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในการเปรียบเทียบชาวเวียดนามกับชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงพันธุกรรมของประชากรอันใกล้ชิดด้วยวิธีการต่าง ๆ โดยมีตัวแสดงเอกลักษณ์เจ็ดประการที่ไม่ซ้ำกัน[52] ต่อมาในปี ค.ศ. 2001 ได้มีการศึกษายีน Human Leukocyte Antigen ที่ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลมักคายในกรุงไทเป ได้จำแนกชาวเวียดนามไว้ในกลุ่มพันธุกรรมเดียวกับม้ง ฮั่นตอนใต้ ปู้อี และไทย พร้อมกับครอบครัวที่หลากหลายอันประกอบด้วยไทยเชื้อสายจีน สิงคโปร์เชื้อสายจีน ชนหมิ่นหนาน (ฮกโล้) และจีนแคะ[53]

เชิงอรรถ[แก้]

  1. แกว คือคำว่า แกว ๆ มีความหมายถึงเสียงดังแซดแต่ไม่ได้ศัพท์ ซึ่งจิตร ภูมิศักดิ์มองว่าน่าจะเป็นการล้อเลียนเสียงพูดในภาษาเวียดนามที่มีเสียงสูงต่ำตัดกันชัดเจนกว่าภาษาไทย-ลาว นอกจากนี้ยังมีคำลาวในวรรณคดีเรื่องท้าวฮุ่งเรียกชาวเวียดนามอย่างเหยียดหยามว่า แย้, แกวแย้ และแกวม้อย (จิตร ภูมิศักดิ์. ความเป็นมาของคำสยาม, ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: ชนนิยม. 2556. หน้า 242–243.)

หมายเหตุ[แก้]

  1. ข้อมูลนี้เป็นข้อมูลเฉพาะชาวญวนในจีนแผ่นดินใหญ่ ไม่รวมชาวจิง และข้อมูลในฮ่องกง มาเก๊า และไต้หวัน
  2. ข้อมูลนี้เฉพาะชาวจิงในจีนแผ่นดินใหญ่

อ้างอิง[แก้]

  1. "Report on Results of the 2019 Census". General Statistics Office of Vietnam. สืบค้นเมื่อ 1 May 2020.
  2. "ASIAN ALONE OR IN ANY COMBINATION BY SELECTED GROUPS: 2016". U.S. Census Bureau. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 13 February 2020. สืบค้นเมื่อ 24 September 2017.
  3. Ponnudurai, Parameswaran (19 March 2014). "Ethnic Vietnamese in Cambodia Left in Limbo Without Citizenship". Radio Free Asia. RFA Khmer Service. สืบค้นเมื่อ 13 March 2018.
  4. "Vietnamese in Cambodia". Joshua Project. สืบค้นเมื่อ 13 March 2018.
  5. "A People in Limbo, Many Living Entirely on the Water". The New York Times. 2018-03-28.
  6. "令和2年6月末現在における在留外国人数について". Immigration Services Agency, Ministry of Justice. 2020-10-09. สืบค้นเมื่อ 2021-02-02.
  7. "Les célébrations du Têt en France par la communauté vietnamienne" (ภาษาฝรั่งเศส). Le Petit Journal. สืบค้นเมื่อ 2020-09-28.
  8. Étude de la Transmission Familiale et de la Practique du Parler Franco-Vietnamien (in French) Retrieved on 22-12-2015.
  9. 跨「越」鴻溝30年 擺脫汙名 聽見新住名告白 - 華視新聞網. Chinese Television System. 2019-03-16.
  10. "2016 Census Community Profiles". Australian Bureau of Statistics. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-08-05. สืบค้นเมื่อ 11 April 2018.
  11. Statistics, c=AU; o=Commonwealth of Australia; ou=Australian Bureau of (2012-05-24). "Main Features - Country of birth". www.abs.gov.au.
  12. "Census Profile, 2016 Census". Statistics Canada. 7 February 2017. สืบค้นเมื่อ 19 July 2018.
  13. Vietnam ranks second in number of foreigners staying in RoK
  14. "Bevölkerung in Privathaushalten 2019 nach Migrationshintergrund". Federal Statistical Office of Germany (Statistisches Bundesamt). 28 July 2020.
  15. L. Anh Hoang; Cheryll Alipio (2019). Money and Moralities in Contemporary Asia. Amsterdam University Press. pp. 59–84. ISBN 9789048543151.
  16. [1]
  17. "Chủ tịch Quốc hội gặp gỡ cộng đồng người Việt Nam tại Thái Lan" (ภาษาเวียดนาม). สืบค้นเมื่อ 2021-02-02.
  18. https://www.e-polis.cz/clanek/specifika-zivota-vietnamske-komunity-v-cr.html
  19. "Viet Nam, Malaysia's trade unions ink agreement to strengthen protection of migrant workers". International Labour Organization. 16 March 2015.
  20. "Wietnamczycy upodobali sobie Polskę. Może być ich 60 tys. w naszym kraju". www.wiadomosci24.pl (ภาษาโปแลนด์). สืบค้นเมื่อ 2015-11-02.
  21. "Vietnam who after 30 years in the UK". สืบค้นเมื่อ 2021-02-06.
  22. "Cuộc sống người Việt ở Angola". RFA. 1 June 2013.
  23. "Vietnamese come to Ukraine for a better life, although many long to return to homeland". Kyiv Post. December 3, 2009.
  24. "Protecting Vietnamese community in Ukraine". Vietnamese Embassy in Ukraine. สืบค้นเมื่อ 2021-02-02.
  25. "Major Figures on Residents from Hong Kong, Macao and Taiwan and Foreigners Covered by 2010 Population Census". National Bureau of Statistics of China. April 29, 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ May 14, 2011. สืบค้นเมื่อ May 4, 2011.
  26. "中國2010年中华人民共和国第六次全国人口普查数据". 中华人民共和国国家统计局. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 พฤศจิกายน 2012. สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2014.
  27. "Immigrants and Norwegian-born to immigrant parents". สืบค้นเมื่อ 2021-02-02.
  28. "Population; sex, age, migration background and generation, 1 January". Statistics Netherlands. สืบค้นเมื่อ 2021-02-02.
  29. "Population by country of birth and year". สืบค้นเมื่อ 2021-02-02.
  30. "Việt Nam opens consulate office in China's Macau". สืบค้นเมื่อ 2 February 2021.
  31. "Embassy of the UAE in Hanoi » Vietnam - UAE Relations-Bilateral relations between UAE - Vietnam". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-01-10. สืบค้นเมื่อ 2014-02-25.
  32. "CỘNG ĐỒNG NGƯỜI VIỆT NAM Ở Ả-RẬP XÊ-ÚT MỪNG XUÂN ẤT MÙI - 2015". สืบค้นเมื่อ 2021-02-06.
  33. "Người trong cuộc kể lại cuộc sống "như nô lệ" của lao động Việt ở Ả Rập Saudi". สืบค้นเมื่อ 2021-02-06.
  34. "Tình cảnh 'Ô-sin' Việt ở Saudi: bị bóc lột, bỏ đói". สืบค้นเมื่อ 2021-02-06.
  35. "FOLK1C: Population at the first day of the quarter by region, sex, age (5 years age groups), ancestry and country of origin". Statistics Denmark (ภาษาอังกฤษ).
  36. [2]. Chimviet.free.fr(in French). Retrieved on 2019-11-19.
  37. "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-02-11. สืบค้นเมื่อ 2021-02-10.
  38. [3]
  39. "Vietnamese in Cyprus, Laos celebrate traditional New Year". Vietnamplus. สืบค้นเมื่อ 2015-10-31.
  40. Deputy FM meets Vietnamese nationals in Cyprus. Retrieved 2015-10-31.
  41. https://www.minv.sk/swift_data/source/policia/hranicna_a_cudzinecka_policia/rocenky/rok_2019/2019-rocenka-UHCP_EN.pdf
  42. https://spectator.sme.sk/c/20059086/slovakias-invisible-minority-counters-migration-fears.html
  43. https://www.stats.govt.nz/information-releases/2018-census-ethnic-groups-dataset
  44. https://vietnamnews.vn/society/716142/vietnamese-community-in-switzerland-support-fight-against-coronavirus.html
  45. Vukovich, Gabriella (2018). Mikrocenzus 2016 - 12. Nemzetiségi adatok [2016 microcensus - 12. Ethnic data] (PDF). Hungarian Central Statistical Office (ภาษาฮังการี). Budapest. ISBN 978-963-235-542-9. สืบค้นเมื่อ 9 January 2019.
  46. "Người Việt tại tâm dịch của Italia" (ภาษาเวียดนาม). VOV. 2020-03-27.
  47. "Truyền "ngọn lửa" văn hóa cho thế hệ trẻ người Việt tại Áo" (ภาษาเวียดนาม). 2020-02-23.
  48. "Condiții inumane pentru muncitorii vietnamezi din România". Digi24 (ภาษาโรมาเนีย). 21 March 2019.
  49. "Lấy quốc tịch Châu Âu thông qua con đường Bulgaria" (ภาษาเวียดนาม). Tuổi Trẻ. 2019-03-13.
  50. Every Culture - Vietnamese people
  51. เล่าเรื่องของหมู่บ้านว่านเหว่ยชนชาติจิง CRI
  52. Ivanova R; Astrinidis A; Lepage V; และคณะ (ธันวาคม 1999). "Mitochondrial DNA polymorphism in the Vietnamese population". Eur. J. Immunogenet. 26 (6): 417–22. doi:10.1046/j.1365-2370.1999.00184.x. PMID 10583463. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 มกราคม 2013. สืบค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม 2012.
  53. Lin M; Chu CC; Chang SL; และคณะ (มีนาคม 2001). "The origin of Minnan and Hakka, the so-called "Taiwanese", inferred by HLA study". Tissue Antigens. 57 (3): 192–9. doi:10.1034/j.1399-0039.2001.057003192.x. PMID 11285126. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 มกราคม 2013.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]