ชันตรมันตระ (ชัยปุระ)

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ชันตรมันตระ (ชัยปุระ)
แหล่งมรดกโลกโดยยูเนสโก
ที่ตั้งชัยปุระ, รัฐราชสถาน, ประเทศอินเดีย
เกณฑ์พิจารณาวัฒนธรรม: (iii), (iv)
อ้างอิง1338
ขึ้นทะเบียน2010 (สมัยที่ 34)
พื้นที่1.8652 ha (4.609 เอเคอร์)
พื้นที่กันชน14.6664 ha (36.241 เอเคอร์)
พิกัด26°55′29″N 75°49′28″E / 26.92472°N 75.82444°E / 26.92472; 75.82444พิกัดภูมิศาสตร์: 26°55′29″N 75°49′28″E / 26.92472°N 75.82444°E / 26.92472; 75.82444
ชันตรมันตระ (ชัยปุระ)ตั้งอยู่ในชัยปุระ
ชันตรมันตระ (ชัยปุระ)
ที่ตั้งชันตรมันตระ ในชัยปุระ
ชันตรมันตระ (ชัยปุระ)ตั้งอยู่ในรัฐราชสถาน
ชันตรมันตระ (ชัยปุระ)
ชันตรมันตระ (ชัยปุระ) (รัฐราชสถาน)
ชันตรมันตระ (ชัยปุระ)ตั้งอยู่ในประเทศอินเดีย
ชันตรมันตระ (ชัยปุระ)
ชันตรมันตระ (ชัยปุระ) (ประเทศอินเดีย)

ชันตรมันตระ (ฮินดี: जन्तर मन्तर; Jantar Mantar) เป็นหมู่สิ่งก่อสร้างเพื่อประโยชน์ทางดาราศาสตร์ 19 ชิ้น ในเมืองชัยปุระ รัฐราชสถาน ประเทศอินเดีย ที่สร้างขึ้นโดยราชาราชปุต สไว ชัย สิงห์ ที่สอง ผู้ก่อตั้งนครชัยปุระ สร้างแล้วเสร็จในปี 1734[1][2] ในบรรดาสิ่งก่อสร้างนี้มีนาฬิกาแดดหินที่ใหญ่ที่สุดในโลก และหมู่โบราณสถานนี้ได้รับสถานะมรดกโลกโดยยูเนสโก[1][3] ชันตรมันตระตั้งอยู่ไม่ไกลจากซิตีพาเลส และ หวมหัล[4]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "The Jantar Mantar, Jaipur - UNESCO World Heritage Centre". Whc.unesco.org. 2010-07-31. สืบค้นเมื่อ 2012-11-11.
  2. The Jantar Mantar at Jaipur, India Portal to the Heritage of Astronomy, in partnership with UNESCO World Heritage Site
  3. Smithsonian. Timelines of Science. Penguin. p. 136. ISBN 978-1465414342.
  4. Yukio Ohashi (Editor: H Selin) (1997). Encyclopaedia of the History of Science, Technology, and Medicine. Springer. pp. 83–86. ISBN 978-0792340669. {{cite book}}: |last1= มีชื่อเรียกทั่วไป (help)

ดูเพิ่ม[แก้]