จินตนาการ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

จินตนาการ (อังกฤษ: Imagination) เป็นความสามารถในการสร้างภาพในสมอง ซึ่งภาพเหล่านี้ไม่ได้รับรู้ผ่านการมองเห็น การได้ยิน หรือผ่านวิธีการรับรู้อื่น ๆ จินตนาการถือได้ว่าเป็นตัวช่วยสำคัญในการนำความรู้ไปใช้งานจริงและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ และยังเป็นรากฐานในการรวมประสบการณ์และกระบวนการเรียนรู้เข้าด้วยกัน[1][2][3][1][4] การฝึกการสร้างจินตนาการสามารถทำได้โดยการฟังเรื่องเล่า[1][5]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 Norman 2000 pp. 1-2
  2. Brian Sutton-Smith 1988, p. 22
  3. Archibald MacLeish 1970, p. 887
  4. Kieran Egan 1992, pp. 50
  5. Northrop Frye 1963, p. 49

หนังสืออ่านเพิ่ม[แก้]

ดูเพิ่ม:

  • Watkins, Mary: "Waking Dreams" [Harper Colophon Books, 1976] and "Invisible Guests - The Development of Imaginal Dialogues" [The Analytic Press, 1986]
  • Moss, Robert: "The Three "Only" Things: Tapping the Power of Dreams, Coincidence, and Imagination" [New World Library, September 10, 2007]
  • Public Domain บทความนี้ ประกอบด้วยข้อความจากสิ่งพิมพ์ซึ่งปัจจุบันเป็นสาธารณสมบัติChisholm, Hugh, บ.ก. (1911). สารานุกรมบริตานิกา ค.ศ. 1911 (11 ed.). สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์. {{cite encyclopedia}}: |title= ไม่มีหรือว่างเปล่า (help)