คุยเรื่องแม่แบบ:ตารางจำแนกพันธุ์

ไม่รองรับเนื้อหาของหน้าในภาษาอื่น
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

คลิกเดียว[แก้]

ใส่ วิกิพีเดีย:การใช้ตารางจำแนกพันธุ์ ไว้โฆษณาตามหน้าของสิ่งมีชีวิตทุกตัวที่ดึงแม่แบบนี้ไป เผื่อใครดูสิ่งมีชีวิตตัวอื่น อยากทำสิ่งมีชีวิตของตัวเองบ้าง จะได้ใช้แม่แบบเดียวกันนี้บ้าง ก็สามารถคลิกมาดู วิธีใช้ +มาcopy ไปง่ายๆ"ในคลิกเดียว" (ไม่ต้องย้อนไปหาในหน้าแม่แบบจากหน้าหลัก)

ไม่ดีกว่า หรือครับ แค่แทรกนี้ไปบรรทัดสุดท้าย ก่อน |}< /includeonly>

|-
! align="center" style="background: {{{color}}};"|<small>ใช้แม่แบบตารางจำแนกพันธุ์ : [[วิกิพีเดีย:การใช้ตารางจำแนกพันธุ์]] 
</small>

ซ่อนเนื้อหา[แก้]

ไม่ค่อยเข้าใจว่าทำไมถึงต้องซ่อนเนื้อหาในส่วน "ข้อมูลทั่วไป" กับ "ถิ่นอาศัย" ครับ ตัวอย่างในหน้า ปูมะพร้าว เพราะคนอ่านคงไม่ได้กดเข้าไปดูเท่าไร --Manop | พูดคุย 05:42, 4 กุมภาพันธ์ 2551 (ICT)

ตัวเอียงมีปัญหา[แก้]

ต่อจาก วิกิพีเดีย:สภากาแฟ/อภิปราย/การตั้งชื่อบทความเป็นชื่อวิทยาศาสตร์ นะครับ เห็นว่าตรงตัวเอียงในกล่อง มีปัญหานิดหน่อย ตัวอย่างเช่นในหน้า บอระเพ็ด มีตัวอักษรขีดโผล่เกินมา --Manop | พูดคุย - (irc) 22:57, 2 พฤษภาคม 2552 (ICT)
ในแม่แบบ {{ตารางจำแนกพันธุ์}} ตรงส่วนชื่อวิทยาศาสตร์:
--> {{#if:{{{binomial|}}} | {{taxobox/p|''{{{binomial}}}'' {{{binomial_authority}}}|regnum={{{regnum}}}|xpn=1|debold=1}}</div>}}
--> {{#if:{{{trinomial|}}} | {{taxobox/p|''{{{trinomial}}}'' {{{trinomial_authority}}}|regnum={{{regnum}}}|xpn=1|debold=1}}</div>}}

ปัญหาอยู่ที่ว่า

  1. บางบทความใส่ trinomial = ''Homo sapiens sapiens'' ซึ่งจะส่งผลให้เป็น ''''Homo sapiens sapiens'''' = 'Homo sapiens sapiens'
  2. บางบทความใส่ trinomial = Homo sapiens sapiens ซึ่งจะส่งผลให้เป็น ''Homo sapiens sapiens'' = Homo sapiens sapiens

ต้องตกลงกันครับ ว่าจะใช้แบบไหน ถ้าจะใช้แบบแรก ก็ต้องไปแก้เครื่องหมาย '' ที่คร่อม ''{{{binomial}}}''/''{{{trinomial}}}'' ที่แม่แบบออก ถ้าใช้แบบสอง ก็ไม่ต้องแก้แม่แบบ แต่ที่แน่ ๆ ต้องไปแก้ในบทความทั้งหมด ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน--atcharakorn 05:17, 4 พฤษภาคม 2552 (ICT)

คิดว่าควรจะไปดูแนวโน้มของการใช้มากกว่า ว่าใช้ไปในทางไหนมากกว่ากัน ถึงจะแก้แม่แบบเพื่อให้กระทบกับบทความอื่นน้อยที่สุด แล้วเราก็แก้เพียงแค่บทความส่วนน้อยเท่านั้นครับ งานจะได้ไม่เข้า --Octra Dagostino 09:51, 4 พฤษภาคม 2552 (ICT)

ไม่ทราบว่าทำให้ใช้ทั้งสองแบบเลยได้ไหมครับ เพราะว่าเท่าที่ดู มันมีปนกันทั้งสองแบบเยอะมาก ตอนแรกผมจะนั่งแก้รายบทความ แก้ไปอันหนึ่ง ก็เปลี่ยนใจ ผมมือใหม่นะครับ อยากถามว่าเราจะใส่คำสั่งเงื่อนไขลงไปที่แม่แบบ ให้มันฉลาด รับรู้ทั้งสองแบบไปเลยได้เปล่าครับ --Kaew 14:14, 4 พฤษภาคม 2552 (ICT)

ทำไม่ได้ครับ วิกิไม่มีคำสั่งตรวจสอบรูปแบบตัวอักษร --Octra Dagostino 14:16, 4 พฤษภาคม 2552 (ICT)


งั้นมีความเป็นไปได้สองวิธี

  1. เขียนบอตมาจัดการแก้ไขในบทความให้ถูกต้อง
  2. ผมยังแอบคิดในใจลึกๆ ว่ามันอาจจะเป็นไปได้ในการแก้ไขที่แม่แบบ

รบกวนแนะนำเอกสารเกี่ยวกับวิธีเขียนบอตและแม่แบบด้วยครับ ผมพอเขียนโปรแกรมได้บ้างหลายภาษาแต่ไม่เคยเขียนอะไรเกี่ยวกับเว็บ ขอเวลาศึกษาหน่อยอาจจะได้ผลครับ ไม่อยากแก้แบบใช้แรงงาน Brute Force เพราะจะไม่คุ้มแรง กว่าจะแก้เสร็จ เขาก็คิดค้นแม่แบบใหม่ หรือเปลี่ยนไประบบอื่นแล้ว เหมือนสะพานซิดนีย์ฮาร์เบอร์ที่กว่าจะทาสีเสร็จจากฝั่งหนึ่งไปอีกฝั่งหนึ่งก็ถึงเวลาต้องทาสีรอบใหม่พอดี :-)

ขอบคุณล่วงหน้าสำหรับคำแนะนำนะครับ--Kaew 14:26, 4 พฤษภาคม 2552 (ICT)


ในฐานะที่เป็นผู้แก้ไขนะครับ คือเจตนาอยากให้ใส่ plain text ลงใน field ต่างๆ (รวมถึงแม่แบบอดีตประเทศ และกล่องข้อมูล 3.0 อื่นๆ ) เพื่อให้ระบบ สร้างลิงค์ในกรณีมีบทความนั้นๆ โดยอัตโนมัติ ส่วนในตารางจำแนก จะให้การจัดรูปแบบเป็นไปตามมาตรฐาน เพราะถ้าไม่ใส่ plain text เดี๋ยวก็จะใส่ตัวเอียง ตัวหนากันตามสบาย ฯลฯ อย่างไรก็ เสนอได้ครับ ทั้งนี้ รูปแบบที่ถูกต้องในการเขียนชื่อวิทยาศาสตร์คือ ท่อนทวินาม/ไตรนาม ต้องเป็นตัวเอียง น่ะครับ --m̈assgo AquaCS4 ไฟล์:WikiBotany tap.png 21:21, 12 พฤษภาคม 2552 (ICT)

บทความต้นแบบที่ทดลองจัดรูปแบบกล่องข้อมูล และอยากรณรงค์ให้เป็นแนวทางเดียวกันคือ หลาวชะโอนทุ่ง และ นกเขียวก้านตองปีกสีฟ้า ซึ่งจะเห็นว่า การจำแนก ผมใช้อักษรตัวหนา เพื่อบ่งบอกว่า บทความนี้หมายถึงระดับชั้นนั้นๆ ส่วนในช่องชื่อวิทยาศาสตร์ ก็เขียนตัวเอียงตามหลักการ --m̈assgo AquaCS4 ไฟล์:WikiBotany tap.png 21:29, 12 พฤษภาคม 2552 (ICT)

ขอเสนอว่าทำให้เหมือนวิกิพีเดียภาษาอังกฤษได้ไหมครับ เวลาคัดลอกมาจะได้สะดวก เพราะเราไม่ได้ลอกมาตอนสร้างบทความอย่างเดียว แต่ถ้าหากมีการปรับปรุงอะไร เราก็ลอกล่องจากของภาษาอังกฤษมาใช้ได้เลย ไม่ต้องปรับปรุงอะไรอีก ลองคลิกดูโค้ดของภาษาอังกฤษเขาจะใช้คำสั่งไม่เหมือนกับเรา --Kaew 21:31, 12 พฤษภาคม 2552 (ICT)

ถ้าจะบอกว่าลอกตามต้นฉบับกล่องภาษาอังกฤษ ผมนี่แหละต้นฉบับ ผมเป็นคนเอากล่อง TeleTaxo นี่แหละ ไปเสนอคนที่ทำกล่องในภาคภาษาอังกฤษ แล้วเขาก็เอาของผมไปพัฒนาต่อ คืออันที่จริงพูดให้ถูก ก็เริ่มแรกก็พัฒนาร่วมกันแหละ แต่ต่อมาก็พัฒนาไปคนละทาง ตามความเหมาะสมของแต่ละภาษาโดยใช้แกนเดียวกัน (ดูเพิ่ม en:Wikipedia_talk:Taxobox_usage#Teletaxo) --m̈assgo AquaCS4 ไฟล์:WikiBotany tap.png 17:20, 13 พฤษภาคม 2552 (ICT)
แน่จริงครับคุณ Thanyakij ดีใจที่วิกิพีเดียไทยเราไม่ได้ลอกเขาอย่างเดียว ซ้ำยังเป็นต้นแบบให้คนอื่นอีกด้วย แต่ประเด็นก็ยังเหมือนเดิมแหละครับว่า เราต้องการเป็นตัวของเราเองใช่ไหมครับ งั้นถ้าไปคัดลอกข้อมูลกล่องของวิกิอังกฤษมาก็ต้องแก้ให้เข้ากับของไทยเราเอง ส่วนที่มีกล่องอยู่แล้วนับพันๆ อันไหนไม่ถูกก็ต้องแก้ให้สอดคล้องกับแม่แบบที่มี ตรงนี้จะทำยังไงให้มันสะดวกรวดเร็วดีหล่ะครับ --Kaew 06:09, 14 พฤษภาคม 2552 (ICT)
เอาแบบไหนคงต้องถามเสียงส่วนใหญ่ แต่โดยส่วนตัว ต้องการให้แม่แบบเป็นข้อความล้วน มากกว่าข้อความจัดรูปแบบ ส่วนวิธีแก้เร็ว ก็ต้องพึ่ง บอตกุ้ง ครับ --m̈assgo AquaCS4 ไฟล์:WikiBotany tap.png 08:47, 14 พฤษภาคม 2552 (ICT)
ก็เริ่มตั้งประเด็นถามให้โหวตกันเลยไหมครับ... ผมสนับสนุนคุณ​ Thanyakij ก็ได้ครับในฐานะผู้พัฒนาเดิม แต่รบกวนบอกจุดที่ต่างกันกับวิกิอังกฤษให้ชัดเจนนะครับ ว่ามีแห่งเดียวหรือมีอีกหลายที่ เพราะหลายๆบทความ เราก็แค่ลอกข้อมูลจากภาษาอังกฤษมา ต้องแก้ตรงไหนจะได้ชันเจนครับ ถ้าได้ผลโหวตกันแล้ว จะได้ลงมือแก้กันทันที ปล่อยชื่อวิทย์ไว้ไม่ถูกต้องนานๆ เดี๋ยวนักวิทย์จะเสื่อมศรัทธาวิกิครับ ขอบคุณครับ --Kaew 08:40, 15 พฤษภาคม 2552 (ICT)
ตามความคิดเห็นของผู้ใช้ใหม่ แล้วก็ไม่ค่อยขลุกอยู่ในวงการ wiki (ซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ใน wiki) แนะนำว่า ควรจะให้เป็นระบบอัตโนมัติดีกว่า เพื่อความง่าย แล้วน่าจะมีบอต ตรวจความถูกต้องด้วย --LazarusSP1 20:33, 23 พฤษภาคม 2552 (ICT)

เมื่อไม่มีใครสรุป งั้นผมสรุปให้ว่า ให้บอตคุง แก้ไข ''ข้อความจัดรูปแบบ'' ใน bi~ tri~ เป็น ข้อความล้วน ก็แล้วกันนะครับ --m̈assgo AquaCS4 ไฟล์:WikiBotany tap.png 06:49, 31 พฤษภาคม 2552 (ICT)

ขอบคุณครับ เท่านี้แหละครับที่รอมานาน... รอสักพักถ้าไม่มีผู้ใดมีความเห็นเป็นอย่างอื่นจะได้ปฎิบัติการกันเลย --taweethaも 15:27, 31 พฤษภาคม 2552 (ICT)

ทางออกใหม่[แก้]

ทางออกที่แก้ไขที่แม่แบบแล้วรองรับทั้งสองอย่าง

  1. ใช้คำสั่ง replace เพื่อกำจัดเครื่องหมาย ' ออกไป การใช้คำสั่ง replace ดูได้ที่นี่ Extension:StringFunctions แต่ลองแล้วมันไม่รองรับ หน้านี้น่าจะเป็นคำตอบ พิเศษ:เวอร์ชัน ไม่รู้ลงเพิ่มได้เปล่าครับ
  2. อันนี้ลองแล้วก็ใช้ได้เหมือนกัน หลักการมีอยู่ว่า ปกติแล้วบทความจะมี หน้าที่เป็นชื่อ binomial / trinomial ไม่เป็นหน้าจริง ก็เป็นหน้าเปลี่ยนทาง จึงใช้ความจริงนี้มาใช้ให้เกิดประโยชน์โดยเขียนใหม่เสียว่า
 {{#ifexist: {{{binomial}}} | ''{{{binomial}}}'' | {{{binomial}}} }}

ก็คือถ้า binomial ที่ส่งมาให้ยังไม่มีคำสั่งจัดรูปแบบ ก็จัดมันใหม่เสีย แต่ถ้ามีแล้ว มันจะไม่เจอหน้าดังกล่าว ก็ใช้ข้อความที่จัดรูปแบบแล้วไปเลย

ดูหน้าที่ทดสอบได้ที่ ผู้ใช้:Taweetham/แม่แบบ (แก้ binomial แล้วอย่างข้างบน) และ ผู้ใช้:Taweetham/พืช ซึ่งลอกมาจาก Ravenala_madagascariensis (เป็นบทความที่มีปัญหาตัวเอียง) และ ผู้ใช้:Taweetham/พืช2 (ลองเอาคำสั่งจัดรูปแบบออก) ทั้งสองบทความนี้เรียกแม่แบบที่แก้ไขใหม่ จะเห็นว่าการปรับแม่แบบนี้ รองรับทั้งสองเวอร์ชัน จึงรบกวนรับไปพิจารณาอีกครั้งครับ--taweethaも 21:49, 2 มิถุนายน 2552 (ICT)

อันแรกตัดได้เลย เพราะถ้าแก้นี่คิดว่าต้องแก้ทุกวิกิในโครงการเลย ตัว Extension Stringfunctions มันใช้ได้กับมีเดียวิกิ 1.7+ แต่ของที่วิกิมีเดียใช้อยู่เป็น 1.15α สำหรับทางเลือกที่สอง น่าสนใจครับ แต่มันจะมีกรณีต่างจากกรณีที่ถกกันอยู่ข้างบนกับกรณีนี้หรือเปล่า (พูดถึงเรื่องตารางนี้มันมีโยงมาประมาณ 1,526 หน้า ถ้าเกิดเราเช็คหน้าที่ใช้แม่แบบนี้ทั้งหมดแล้วแก้หน้านั้นให้แสดงผลให้ถูกต้อง มันก็ไม่ใช่งานยาก แต่ต้องอาศัยความอดทนสักหน่อย แต่อันนี้ผมพูดเป็นทางเลือกสุดท้ายหากแก้จากแม่แบบทุกทางแล้วมันไม่ได้นะครับ) --Chris Vineyard 07:18, 11 มิถุนายน 2552 (ICT)
แก้ให้แล้วเฉพาะตัวแปร binomial ซึ่งใช้กันมาก ส่วนตัวแปรอื่นๆ แก้ได้ด้วยหลักการเดียวกัน แต่ว่าไม่ค่อยได้ใช้ ไว้แก้กันเองแล้วกันครับ แม่แบบนี้ทำตาลายได้ง่ายๆ --taweethaも 23:17, 11 กรกฎาคม 2552 (ICT)
trinomial ก็มีเป็นสิบรายการ แก้ให้แล้วเหมือนกัน --taweethaも 23:42, 11 กรกฎาคม 2552 (ICT)

รูปภาพ[แก้]

ไม่ทราบว่าทางคอมมอนส์มีปัญหาอะไรหรือเปล่าครับ บางบทความภาพจึงไม่ขึ้นในตารางจำแนกพันธุ์ เช่น ตำลึง, วงศ์ก่วม เป็นต้น --Chale yan 00:58, 12 กรกฎาคม 2552 (ICT)