คิวบอกทาฮีดรอน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
Cuboctahedron
คิวบอกทาฮีดรอน
(คลิกที่นี่เพื่อดูรูปแบบการหมุน)
รูปแบบ ทรงตันอาร์คิมิดีส
Uniform polyhedron
องค์ประกอบ F = 14, E = 24, V = 12 (χ = 2)
Faces by sides 8{3}+6{4}
สัญลักษณ์ชเลฟลี t1{4,3}
t0,2{3,3}
สัญลักษณ์วีโทฟฟ์ 2 | 3 4
3 3 | 2
แผนภาพค็อกซีเตอร์-ดืยน์กิน
สมมาตร Oh, [4,3], (*432)
Td, [3,3], (*332)
มุมสองหน้า 125.26°
อ้างอิง U07, C19, W11
สมบัติ Semiregular convex quasiregular
คิวบอกทาฮีดรอน color
Colored faces
คิวบอกทาฮีดรอน
3.4.3.4
(Vertex figure)

Rhombic dodecahedron
(dual polyhedron)
คิวบอกทาฮีดรอน Net
Net

คิวบอกทาฮีดรอน (อังกฤษ: cuboctahedron, พหูพจน์: -dra) คือทรงหลายหน้า (polyhedron) ที่ประกอบด้วยหน้ารูปสามเหลี่ยมด้านเท่า 8 หน้า และรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 6 หน้า รวม 14 หน้า โดยหน้าทั้งสองประเภทจะสลับกันทุกทิศทางไม่ว่าจะมองจากมุมใด มี 12 จุดยอด 24 ขอบ คิวบอกทาฮีดรอนเป็นหนึ่งในทรงตันอาร์คิมิดีส (Archimedean solid)

รูปทรงนี้มีชื่อเรียกอื่นอีกคือ ไจโรไบคิวโพลาสามเหลี่ยม (triangular gyrobicupola)

พื้นที่ผิวและปริมาตร[แก้]

คิวบอกทาฮีดรอนที่คลี่ออก

พื้นที่ผิว A และปริมาตร V ของคิวบอกทาฮีดรอน ที่มีความยาวขอบทุกด้านเท่ากับ a สามารถคำนวณได้ดังนี้

พิกัดคาร์ทีเซียน[แก้]

พิกัดคาร์ทีเซียนของจุดยอดของคิวบอกทาฮีดรอน สามารถกำหนดพิกัดได้ดังนี้

c, ±c, 0), (±c, 0, ±c), (0,±cc)

เมื่อ c เป็นจำนวนจริงใดๆ ที่ไม่เท่ากับ 0

อ้างอิง[แก้]

  • Williams, Robert (1979). The Geometrical Foundation of Natural Structure: A Source Book of Design. Dover Publications, Inc. ISBN 0-486-23729-X. (Section 3-9)

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]