ขบวนการมุญาฮิดีนกัษมีระ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ขบวนการมุญาฮิดีนกัษมีระ
ผู้นำFazlur Rehman Khalil
ปีที่ปฏิบัติการค.ศ. 1985–ปัจจุบัน
แนวคิดลัทธิอิสลาม ญิฮาด
สถานะจัดเป็นกลุ่มก่อการร้ายใน
พันธมิตรรัฐพันธมิตร

พันธมิตรที่ไม่ใช่รัฐ

ฝ่ายตรงข้าม อินเดีย
การต่อสู้และสงครามสงครามโซเวียต–อัฟกานิสถาน insurgency in Jammu and Kashmir

ขบวนการมุญาฮิดีน (อังกฤษ: Movement of Holy Warriors; Harakat ul-Mujahidin; อูรดู: حرکت المجاہدین الاسلامی) เป็นขบวนการก่อการร้ายในกัษมีระ มีฐานที่มั่นในประเทศปากีสถาน นิยมความรุนแรง ผู้นำคนปัจจุบันคือ ฟารุก คาชมิรี คาห์ลิล ซึ่งมีความสัมพันธ์กับบิน ลาเดน

ปฏิบัติการ[แก้]

กลุ่มนี้ใช้ความรุนแรงกับทหารและพลเรือนอินเดียในกัษมีระ ได้ลักพาตัวนักท่องเที่ยวชาวตะวันตกเมื่อ พ.ศ. 2538 และออกมาประกาศเมื่อ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2539 เพื่อแสดงความรับผิดชอบในการจี้เครื่องบินสายการบินแอร์อินเดีย

สมาชิก[แก้]

มีนักรบราว 1,000 คน อยู่ในอะซัด กัษมีระของปากีสถาน และทางใต้ของกัษมีระในอินเดีย ฐานที่มั่นอยู่ในเมืองมูซาฟฟาราบาดและเมืองราวัลปินดีในปากีสถาน

อ้างอิง[แก้]

  1. "Bahrain Terrorist List (individuals – entities)". Mofa.gov.bh. 2014-02-13. สืบค้นเมื่อ 2020-07-24.
  2. "About the listing process". Public Safety Canada. สืบค้นเมื่อ 11 March 2018.
  3. Schedule 2, Terrorism Act 2000, Act มาตรา 11 ประกาศใช้เมื่อ 2000
  4. "Country Reports on Terrorism 2011 Chapter 6. Foreign Terrorist Organizations". U.S. Department of State. สืบค้นเมื่อ 1 April 2015.
  5. "List of Banned Organisations". Ministry of Home Affairs, GoI. Government of India. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 May 2018. สืบค้นเมื่อ 3 May 2018.
  6. In the Spotlight: Harkat ul-Jihad-I-Islami (HuJI)Center for Defense Information 16 August 2004 เก็บถาวร 11 มีนาคม 2009 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  7. Carlotta Gall; Pir Zubair Shah; Eric Schmitt (24 June 2011). "Seized Cellphone Offers Clues To Bin Laden's Pakistani Links". The New York Times. สืบค้นเมื่อ 24 June 2011.
  • ดลยา เทียนทอง. ปฐมบทการก่อการร้าย. กทม: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2550 หน้า 67 – 69