กีฬาเคอร์ลิงในโอลิมปิกฤดูหนาว

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก กีฬาเคอลิ่งในโอลิมปิก)
กีฬาเคอร์ลิงในโอลิมปิกฤดูหนาว
สัญลักษณ์กีฬาเคอร์ลิง
หน่วยงานดับบลิวซีเอฟ
รายการ3 (ชาย: 1; หญิง: 1; ผสม: 1)
การแข่งขัน
  • 1924
  • 1928
  • 1932
  • 1936
  • 1948
  • 1952
  • 1956
  • 1960
  • 1964
  • 1968
  • 1972
  • 1976
  • 1980
  • 1984
  • 1988
  • 1992
  • 1994
  • 1998
หมายเหตุ: กีฬาสาธิตปีที่ระบุด้วยตัวเอียง

กีฬาเคอร์ลิง ได้รับการบรรจุเป็นกีฬาที่แข่งขันในโอลิมปิกฤดูหนาว ในปี 1924 (พ.ศ. 2468) ณ เมืองชามอนี เป็นครั้งแรก[1] แต่การแข่งขันไม่ได้ถูกพิจารณาผลการแข่งขันจากคณะกรรมการโอลิมปิกสากล จนกระทั่งในปี 2006 (พ.ศ. 2549) กีฬาเคอร์ลิงเคยเป็นกีฬาสาธิตในปี 1932 (พ.ศ. 2476), 1988 (พ.ศ. 2531) และ1992 (พ.ศ. 2535) จนกระทั่งได้ถูกบรรจุอย่างเป็นทางการในปี 1998 (พ.ศ. 2541) ณ เมืองนะงะโนะ

ในปัจจุบันกีฬาเคอร์ลิงในโอลิมปิกฤดูหนาวได้จัดการแข่งขันทั้งหมด 3 รายการ อาทิ ทีมชาย, ทีมหญิง และทีมผสม ซึ่งทีมชาย และทีมหญิง ได้ถูกบรรจุตั้งแต่แรกเริ่ม แต่ทีมผสมนั้นเพิ่งจะถูกบรรจุในโอลิมปิกฤดูหนาว 2018 (พ.ศ. 2561) ซึ่งได้ถูกรับรองจากคณะกรรมการโอลิมปิกสากลในปี ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558)[2] หลังจากที่ถูกปฏิเสธไปในการบรรจุเข้าแข่งขันในโอลิมปิกฤดูหนาว 2010 (พ.ศ. 2553)[3][4]

นอกจากนี้ยังมีกีฬาที่คล้ายคลึงกับเคอร์ลิง อย่าง กีฬาสต็อกน้ำแข็ง หรือเคอร์ลิงบาวาเรียน (Eisstockschießen ในภาษาเยอรมัน) ซึ่งเป็นกีฬาสาธิตในปี 1936 และ1964[5][6]

ประเทศที่เข้าร่วม[แก้]

ทีมชาย[แก้]

ประเทศ 24 28 02 06 10 14 18 ปี
แคนาดา 2 2 1 1 1 4 6
จีน 8 4 2
เดนมาร์ก 7 9 6 10 4
ฟินแลนด์ 5 2 2
ฝรั่งเศส 3 10 7 3
เยอรมนี 8 6 8 6 10 5
สหราชอาณาจักร 1 7 8 4 5 2 5 7
อิตาลี 7 9 2
ญี่ปุ่น 6 8 2
นิวซีแลนด์ 10 1
นอร์เวย์ 3 1 5 2 5 6 6
รัสเซีย 7 1
เกาหลีใต้ 7 1
สวีเดน 2 5 4 9 4 3 2 7
สวิตเซอร์แลนด์ 1 3 6 3 8 3 6
สหรัฐ 4 9 3 10 9 1 6
หมายเหตุ
ในปี 1924 มีทีมที่เข้าร่วมแค่ 3 ทีม

ทีมหญิง[แก้]

ประเทศ 28 02 06 10 14 18 ปี
แคนาดา 1 3 3 2 1 6 6
จีน 3 7 5 3
เดนมาร์ก 2 9 9 5 6 10 6
เยอรมนี 8 5 6 3
สหราชอาณาจักร 4 1 5 7 3 4 6
อิตาลี 10 1
ญี่ปุ่น 6 8 7 8 5 3 6
นอร์เวย์ 5 7 4 3
นักกีฬาโอลิมปิกจากรัสเซีย 9 1
รัสเซีย 10 6 9 9 4
เกาหลีใต้ 8 2 2
สวีเดน 3 6 1 1 2 1 6
สวิตเซอร์แลนด์ 2 2 4 4 7 5
สหรัฐ 7 4 8 10 10 8 6

คู่ผสม[แก้]

ประเทศ 18 ปี
แคนาดา 1 1
จีน 4 1
ฟินแลนด์ 7 1
นอร์เวย์ 3 1
นักกีฬาโอลิมปิกจากรัสเซีย DQB 1
เกาหลีใต้ 5 1
สวิตเซอร์แลนด์ 2 1
สหรัฐ 6 1

ตารางเหรียญ[แก้]

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) 6 3 2 11
2 ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE) 3 3 2 8
3 สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร (GBR) 2 1 1 4
4 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) 1 3 3 7
5 ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ (NOR) 1 1 2 4
6 สหรัฐ สหรัฐ (USA) 1 0 1 2
7 ประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก (DEN) 0 1 0 1
ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ (FIN) 0 1 0 1
ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ (KOR) 0 1 0 1
10 ประเทศจีน จีน (CHN) 0 0 1 1
ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (FRA) 0 0 1 1
ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (JPN) 0 0 1 1
รวม 14 14 14 42

สรุปเหรียญรางวัล[แก้]

ทีมชาย[แก้]

ปี เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
1924 ชามอนี สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร (GBR) ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE) ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (FRA)
1928 → 1994 ไม่ถูกบรรจุในกีฬาโอลิมปิกฤดูหนาว
1998 นะงะโนะ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ (NOR)
2002 ซอลต์เลกซิตี ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ (NOR) ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ (SUI)
2006 ตูริน ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) ประเทศฟินแลนด์ ฟินแลนด์ (FIN) สหรัฐ สหรัฐ (USA)
2010 แวนคูเวอร์ ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ (NOR) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ (SUI)
2014 โซชิ ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร (GBR) ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE)
2018 พย็องชัง สหรัฐ สหรัฐ (USA) ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ (SUI)

ทีมหญิง[แก้]

ปี เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
1998 นะงะโนะ ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) ประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก (DEN) ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE)
2002 ซอลต์เลกซิตี สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร (GBR) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN)
2006 ตูริน ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN)
2010 แวนคูเวอร์ ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE) ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) สาธารณรัฐประชาชนจีน จีน (CHN)
2014 โซชิ ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE) สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร (GBR)
2018 พย็องชัง ประเทศสวีเดน สวีเดน (SWE) ประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ (KOR) ประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น (JPN)

คู่ผสม[แก้]

ปี เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
2018 พย็องชัง ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN) ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ (SUI) ประเทศนอร์เวย์ นอร์เวย์ (NOR)

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. Heidrick, Shaun (2014-01-08). "Sochi 2014 Olympic Winter Games: A History of Curling at the Games - Yahoo Sports". Sports.yahoo.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-27. สืบค้นเมื่อ 2014-02-01.
  2. "Mixed Doubles curling confirmed for PyeongChang 2018 Olympics". World Curling Federation. 8 June 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-06-11. สืบค้นเมื่อ 8 June 2015.
  3. "Olympic Programme Updates". Olympic.org. 2006-11-28. สืบค้นเมื่อ 2008-08-20.
  4. National Lead Writer (2014-01-27). "Sochi Olympics: Popularity, Buzz and Drama of Curling with NBC's Andrew Catalon". Bleacher Report. สืบค้นเมื่อ 2014-02-01.
  5. Hojnacki, Sean (2013-12-20). "Winter Olympics 2014: 10 Things to Know About Curling - Yahoo Sports". Sports.yahoo.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-04-03. สืบค้นเมื่อ 2014-02-01.
  6. Briscoe, Jeff (2014-01-08). "Rules of Curling in the Winter Olympics - Yahoo Sports". Sports.yahoo.com. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-03-02. สืบค้นเมื่อ 2014-02-01.