กีฬายูโดในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กีฬายูโด
ในโอลิมปิกครั้งที่ 31
สนามการีโอกาอาเรนา 2
วันที่6–12 สิงหาคม ค.ศ. 2016
จำนวนนักกีฬา386
← 2012
2020 →

การแข่งขันยูโดในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 เป็นการแข่งขันยูโดโอลิมปิกที่จะจัดขึ้นในรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 6–12 สิงหาคม ค.ศ. 2016

การคัดเลือก[แก้]

สรุปเหรียญ[แก้]

ตารางเหรียญ[แก้]

สัญลักษณ์
      ประเทศบราซิล (เจ้าภาพ)
อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 ญี่ปุ่น 3 1 8 12
2 ฝรั่งเศส 2 2 1 5
3 รัสเซีย 2 0 1 3
4 อิตาลี 1 1 0 2
สหรัฐ 1 1 0 2
6 บราซิล 1 0 2 3
7 สโลวีเนีย 1 0 1 2
8 อาร์เจนตินา 1 0 0 1
เช็กเกีย 1 0 0 1
คอซอวอ 1 0 0 1
11 เกาหลีใต้ 0 2 1 3
12 อาเซอร์ไบจาน 0 2 0 2
13 จอร์เจีย 0 1 1 2
คาซัคสถาน 0 1 1 2
15 โคลอมเบีย 0 1 0 1
คิวบา 0 1 0 1
มองโกเลีย 0 1 0 1
18 จีน 0 0 2 2
อิสราเอล 0 0 2 2
อุซเบกิสถาน 0 0 2 2
21 เบลเยียม 0 0 1 1
เยอรมนี 0 0 1 1
สหราชอาณาจักร 0 0 1 1
เนเธอร์แลนด์ 0 0 1 1
โปรตุเกส 0 0 1 1
สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 0 0 1 1
รวม 14 14 28 56

ประเภทชาย[แก้]

ประเภท เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
60 กก.
รายละเอียด
เบสลัน มูดรานอฟ
 ประเทศรัสเซีย
เยลดอส สเมตอฟ
 ประเทศคาซัคสถาน
นะโอะฮิซะ ทะกะโตะ
 ประเทศญี่ปุ่น
ดียอร์เบก อูรอซโบเยฟ
 ประเทศอุซเบกิสถาน
66 กก.
รายละเอียด
ฟาบีโอ บาซีเล
 ประเทศอิตาลี
อัน บา-อุล
 ประเทศเกาหลีใต้
รีชอด โซบีรอฟ
 ประเทศอุซเบกิสถาน
มะซะชิ เอะมินุมะ
 ประเทศญี่ปุ่น
73 กก.
รายละเอียด
โชเฮ โอโนะ
 ประเทศญี่ปุ่น
รูสตรัม โอรูจอฟ
 ประเทศอาเซอร์ไบจาน
ลาชา ชัฟดาตูอัชวีลี
 ประเทศจอร์เจีย
ดีร์ก ฟัน ตีเคิลต์
 ประเทศเบลเยียม
81 กก.
รายละเอียด
ฮาซัน ฮัลมูร์ซาเยฟ
 ประเทศรัสเซีย
เทรวิส สตีเวน
 สหรัฐ
เซร์จู ตอมา
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
ทะกะโนะรี นะงะเซะ
 ประเทศญี่ปุ่น
90 กก.
รายละเอียด
มะชู เบกา
 ประเทศญี่ปุ่น
วาร์ลัม ลีปาร์เตลีอานี
 ประเทศจอร์เจีย
ควัก ดง-ฮัน
 ประเทศเกาหลีใต้
เฉิง ซฺวิ่นจาว
 ประเทศจีน
100 กก.
รายละเอียด
ลูคัช เคอร์ปาเลค
 ประเทศเช็กเกีย
เอลมาร์ กาซีมอฟ
 ประเทศอาเซอร์ไบจาน
ซิริย์ มาแร
 ประเทศฝรั่งเศส
รีวโนะซุเกะ ฮะงะ
 ประเทศญี่ปุ่น
+ 100 กก.
รายละเอียด
เตดี รีเนอร์
 ประเทศฝรั่งเศส
ฮิซะโยะชิ ฮะระซะวะ
 ประเทศญี่ปุ่น
ราฟาเอล ซิลวา
 ประเทศบราซิล
ออร์ ซัซซอน
 ประเทศอิสราเอล

ประเภทหญิง[แก้]

ประเภท เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
48 กก.
รายละเอียด
ปาอูลา ปาเรโต
 ประเทศอาร์เจนตินา
ช็อง โบ-คย็อง
 ประเทศเกาหลีใต้
อะมิ กอนโด
 ประเทศญี่ปุ่น
ออตกอนเซเซก กัลบาดราฮึน
 ประเทศคาซัคสถาน
52 กก.
รายละเอียด
มายลินดา เคลเมนดี
 ประเทศคอซอวอ
โดเดตเต จูฟฟรีดา
 ประเทศอิตาลี
มิซะโตะ นะกะมูระ
 ประเทศญี่ปุ่น
นาตาเลีย คูซูย์ตีนา
 ประเทศรัสเซีย
57 กก.
รายละเอียด
ราฟาเอลา ซิลวา
 ประเทศบราซิล
ดอร์จซูเรนกิน ซูมียา
 ประเทศมองโกเลีย
แตลมา มงเตอีรู
 ประเทศโปรตุเกส
คะโอะรี มะสึโมะโตะ
 ประเทศญี่ปุ่น
63 กก.
รายละเอียด
ทีนา ทรสเทนัก
 ประเทศสโลวีเนีย
กลาริส อักเบญนู
 ประเทศฝรั่งเศส
บาร์เดน เกอร์บี
 ประเทศอิสราเอล
อานีกา ฟัน แอ็มเคิน
 ประเทศเนเธอร์แลนด์
70 กก.
รายละเอียด
ฮะรุกะ ทะชิโมะโตะ
 ประเทศญี่ปุ่น
ยูรี อัลเบอาร์
 ประเทศโคลอมเบีย
แซลลี คอนเวย์
 สหราชอาณาจักร
ลอรา ฟาร์กัส คอค
 ประเทศเยอรมนี
78 กก.
รายละเอียด
เคย์ลา แฮร์ริสัน
 สหรัฐ
โอเดรย์ เชอเมโอ
 ประเทศฝรั่งเศส
มัยรา อากวีอาร์
 ประเทศบราซิล
อานามารี เวเลนเชค
 ประเทศสโลวีเนีย
+ 78 กก.
รายละเอียด
เอมีล อ็องเดออล
 ประเทศฝรั่งเศส
อีดัลยิส ออร์ติซ
 ประเทศคิวบา
คะนะเอะ ยะมะเบะ
 ประเทศญี่ปุ่น
ยฺหวี ซ่ง
 ประเทศจีน

อ้างอิง[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]