กีฬามวยสากลสมัครเล่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มวยสากลสมัครเล่น
ในโอลิมปิกครั้งที่ 31
สนามรีอูเซงตรู – พาวิลเลียน 2
วันที่6-21 สิงหาคม พ.ศ. 2559
จำนวนนักกีฬา286
← 2012
2020 →
กีฬามวยสากลสมัครเล่นใน
โอลิมปิกฤดูร้อน 2016

ชาย หญิง
  49 กก.     51 กก.  
  52 กก.     60 กก.  
  56 กก.     75 กก.  
  60 กก.      
  64 กก.      
  69 กก.      
  75 กก.      
  81 กก.      
  91 กก.      
  +91 กก.      

การแข่งขันมวยสากลสมัครเล่นในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 เป็นการแข่งขันมวยสากลสมัครเล่นโอลิมปิกที่จะจัดขึ้นในรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล กำหนดแข่งขันระหว่างวันที่ 6-21 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การคัดเลือก[แก้]

ชาติสมาชิกโอลิมปิกแต่ละชาติจะส่งนักกีฬาได้รุ่นละหนึ่งคน ได้สำรองให้นักกีฬาจากบราซิล 6 คน เป็นชาย 5 หญิง 1 การแข่งขันครั้งนี้เป็นครั้งแรกที่นักมวยสากลอาชีพที่ไม่ได้ลงทะเบียนกับไอบาสามารถเข้าแข่งขันในกีฬาโอลิมปิกได้ [1] โดยไอบาเปลี่ยนกฏในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2559 และมีนักมวยสากลอาชีพเข้าร่วมแข่งขันสามคนคือ คาร์มิเน ตอมมาโซเน จากอิตาลีในรุ่นไลท์เวท ฮัสซัส เอ็นดาม จากแคเมอรูนในรุ่นไลท์เฮฟวี่เวท และอำนาจ รื่นเริงจากไทยในรุ่นไลท์เวท แต่ไม่มีใครได้เหรียญรางวัล [2]

การแข่งขันรอบคัดเลือก:

  • รายการมวยเวิลด์ซีรีส์ (WSB) พ.ศ. 2557 - 2558– นักมวยที่ได้อันดับสูงสุดสองอันดับแรกเมื่อสิ้นสุดฤดูการแข่งขัน 2557 - 2558 ในแต่ละรุ่น (ยกเว้นรุ่นฟลายเวท เฮฟวี่เวท และซูเปอร์เฮฟวี่เวทเพียงคนเดียว) [1]
  • รายการกึ่งอาชีพระดับโลกไอบา (APB)พ.ศ. 2557 - 2558 – แชมป์และผู้ที่มีอันดับโลกสูงสุดในแต่ละรุ่นเมื่อสิ้นสุดรอบแรกในเดือนกันยายน พ.ศ. 2558 [1]
  • มวยสากลสมัครเล่นชิงแชมป์โลก – โดฮาร์, กาตาร์, 5–18 ตุลาคม พ.ศ. 2558– ผู้ได้สามอันดับแรกของรุ่นต่อไปนี้, แบนตัมเวท ไลท์เวท ไลท์เวลเตอร์เวท เวลเตอร์เวท และมิดเดิลเวท, เหรียญทองและเหรียญเงินจากสามรุ่นต่อไปนี้คือ ไลท์ฟลายเวท ฟลายเวท และไลท์เฮฟวี่เวท และเหรียญทองสำหรับรุ่นเฮฟวี่เวทและซูเปอร์เฮฟวี่เวท[1]
  • มวยสากลสมัครเล่นหญิงชิงแชมป์โลก – คาซักสถาน พ.ศ. 2559 – สี่อันดับแรกของแต่ละรุ่น[1]
  • รายการคัดเลือกโอลิมปิก APB และ WSB พ.ศ. 2559– สามอับดับแรกของรุ่นเล็ก 8 รุ่น, และแชมป์ของรุ่นเฮฟวี่เวทและซูเปอร์เฮฟวี่เวท[1]
  • มวยสากลสมัครเล่นชิงแชมป์โลก พ.ศ. 2559
  • รายการคัดเลือกโอลิมปิกภาคพื้นทวีป พ.ศ. 2559 ทั้งชายและหญิง

ชาติที่เข้าร่วม[แก้]

ผลการแข่งขัน[แก้]

สรุปเหรียญ[แก้]

หมายเหตุ

  *   เจ้าภาพ (บราซิล)

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 อุซเบกิสถาน 3 2 2 7
2 คิวบา 3 0 3 6
3 ฝรั่งเศส 2 2 2 6
4 คาซัคสถาน 1 2 2 5
5 รัสเซีย 1 1 3 5
6 สหราชอาณาจักร 1 1 1 3
สหรัฐ 1 1 1 3
8 บราซิล 1 0 0 1
9 จีน 0 1 3 4
10 อาเซอร์ไบจาน 0 1 1 2
โคลอมเบีย 0 1 1 2
12 เนเธอร์แลนด์ 0 1 0 1
13 โครเอเชีย 0 0 1 1
ฟินแลนด์ 0 0 1 1
เยอรมนี 0 0 1 1
เม็กซิโก 0 0 1 1
มองโกเลีย 0 0 1 1
โมร็อกโก 0 0 1 1
เวเนซุเอลา 0 0 1 1
รวม 13 13 26 52

ผลการแข่งขัน[แก้]

ชาย[แก้]

ประเภท เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ไลท์ฟลายเวท
รายละเอียด
ฮาซันบอย ดุสมาตอฟ
 ประเทศอุซเบกิสถาน
ยูเบร์เคน มาร์ตีเนซ
 ประเทศโคลอมเบีย
โยอานิส อาร์คีลากอส
 ประเทศคิวบา
นิโก เฮอร์แนนเดซ
 สหรัฐ
ฟลายเวท
รายละเอียด
ชาโคบิดิน ซอยรอฟ
 ประเทศอุซเบกิสถาน
ว่าง โยเอน ไฟนอล
 ประเทศเวเนซุเอลา
หู เจียงกวน
 ประเทศจีน
แบนตั้มเวท
รายละเอียด
โรเบย์ซี รามีเรซ
 ประเทศคิวบา
ชากูร์ สตีเวนสัน
 สหรัฐ
วลาดิมีร์ นิกิติน
 ประเทศรัสเซีย
มูโรโยน อักมากาเลียฟ
 ประเทศอุซเบกิสถาน
ไลท์เวท
รายละเอียด
รอบสง กงเซย์เซา
 ประเทศบราซิล
โซฟีอัน อูมีอา
 ประเทศฝรั่งเศส
ลาซาโร อัลวาเรซ
 ประเทศคิวบา
ดอร์จเนียมบูกิน ออตกอนดาไล
 ประเทศมองโกเลีย
ไลท์เวลเตอร์เวท
รายละเอียด
ฟาซาลิดดิน กาอิบนาซารอฟ
 ประเทศอุซเบกิสถาน
ลอเรนโซ โซโตมายอร์
 ประเทศอาเซอร์ไบจาน
วิตาลี ดูเนียตเซฟ
 ประเทศรัสเซีย
อาร์เตม ฮารุตยุนยัน
 ประเทศเยอรมนี
เวลเตอร์เวท
รายละเอียด
ดานียาร์ เยเลอุสซีนอฟ
 ประเทศคาซัคสถาน
ชาฮรัม กียาซอฟ
 ประเทศอุซเบกิสถาน
มูฮัมมัด ราบี
 ประเทศโมร็อกโก
ซูเลย์มัน ซิสโซโก
 ประเทศฝรั่งเศส
มิดเดิลเวท
รายละเอียด
อาร์เลน โลเปซ
 ประเทศคิวบา
เบกเตมีร์ เมลิกูเซียฟ
 ประเทศอุซเบกิสถาน
มิซาเอล โรดรีเกวซ
 ประเทศเม็กซิโก
กามาราน ชัคซูวาร์ลี
 ประเทศอาเซอร์ไบจาน
ไลท์เฮฟวีเวท
รายละเอียด
ฮูลิโอ เซซาร์ ลา ครูซ
 ประเทศคิวบา
อะดิลเบก นิยาวิมเบตอฟ
 ประเทศคาซัคสถาน
มาตีเยอ โบเดอร์ลิก
 ประเทศฝรั่งเศส
โจชัว บูแอทซี
 สหราชอาณาจักร
เฮฟวีเวท
รายละเอียด
เยฟเกนี ทีเชนโค
 ประเทศรัสเซีย
วาซีลิ เลบิต
 ประเทศคาซัคสถาน
รุสตัม ตูลากานอฟ
 ประเทศอุซเบกิสถาน
เอริสลันดี ซาบอง
 ประเทศคิวบา
ซุปเปอร์เฮฟวีเวท
รายละเอียด
โตนี โยกา
 ประเทศฝรั่งเศส
โจอี จอยเซ
 สหราชอาณาจักร
ฟิลิบ ฮโกวิก
 ประเทศโครเอเชีย
อีวาน ดิชโก
 ประเทศคาซัคสถาน

หญิง[แก้]

ประเภท เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ฟลายเวท
รายละเอียด
นิโกลา อาดัมส์
 สหราชอาณาจักร
ซาราห์ อูรามูน
 ประเทศฝรั่งเศส
เริน กานกาน
 ประเทศจีน
อินกริต วาเลนเซีย
 ประเทศโคลอมเบีย
ไลท์เวท
รายละเอียด
เอสเตล มอสเซลี
 ประเทศฝรั่งเศส
ยิน จุนหัว
 ประเทศจีน
มีรา ปอตคอเน
 ประเทศฟินแลนด์
อะนัสตาซียา เบเลียโควา
 ประเทศรัสเซีย
มิดเดิลเวท
รายละเอียด
คลาเรสซา ชีลด์
 สหรัฐ
นุชกา ฟอนติช
 ประเทศเนเธอร์แลนด์
ดาริกา ชากีโมวา
 ประเทศคาซัคสถาน
ลี กวาน
 ประเทศจีน

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 "Rio 2016 – AIBA Boxing Qualification System" (PDF). AIBA. สืบค้นเมื่อ 1 February 2015.
  2. สุดทางฝัน’ไอบ้า’? เมื่อ’มืออาชีพ’จอดป้ายใน’รีโอเกมส์’