กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ฟุตบอล
ในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012
รายละเอียด
การแข่งขันโอลิมปิกฤดูร้อน 2012
เจ้าภาพสหราชอาณาจักร
วันที่25 กรกฎาคม – 11 สิงหาคม 2012
สนาม6 (ใน 6 เมือง)
จำนวนนักฟุตบอล467 คน (จาก 24 ชาติ)
การแข่งขันฟุตบอลชาย
จำนวนทีม16 (จาก 6 สมาพันธ์)
เหรียญรางวัล
1 เหรียญทองธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก
2 เหรียญเงินธงชาติบราซิล บราซิล
3 เหรียญทองแดงธงชาติเกาหลีใต้ เกาหลีใต้
การแข่งขันฟุตบอลหญิง
จำนวนทีม12 (จาก 6 สมาพันธ์)
เหรียญรางวัล
1 เหรียญทองธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
2 เหรียญเงินธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
3 เหรียญทองแดงธงชาติแคนาดา แคนาดา
ลำดับเหตุการณ์
2008
2016

กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 มีการแข่งขันช่วงระหว่างวันที่ 25 กรกฎาคม ถึง 11 สิงหาคม ค.ศ. 2012 โดยเป็นกีฬาเดียวที่แข่งก่อนเปิดพิธีโอลิมปิก 2 วัน โดยจัดการแข่งขันในสนามหลายแห่งนอกลอนดอน (เมืองเจ้าภาพโอลิมปิก) ได้แก่ แมนเชสเตอร์, กลาสโกว์, นิวคาสเซิล, โคเวนทรี และคาร์ดิฟฟ์ การแข่งขั้นรอบชิงชนะเลิศจัดที่สนามกีฬาเวมบลีย์ สำหรับกีฬาชนิดนี้มี 2 เหรียญทอง ซึ่งมอบให้แก่ผู้ชนะเลิศในการแข่งขัน 2 ประเภท[1]คือ

  1. ฟุตบอลชาย (อายุไม่เกิน 23 ปี)
  2. ฟุตบอลหญิง (ไม่จำกัดอายุ)

สำหรับการแข่งขันนี้ ฝ่ายชายแข่งเป็น 16 ทีม และฝ่ายหญิงเป็น 12 ทีม โดยมีการจับฉลากสำหรับการแข่งขันในวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 2012[2]

สนาม[แก้]

มีสนามที่ใช้แข่งขันถึง 6 สนาม:[3]

ลอนดอน
กีฬาฟุตบอลในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 (สหราชอาณาจักร)
แมนเชสเตอร์
สนามกีฬาเวมบลีย์ โอลด์แทรฟฟอร์ด
ความจุ: 90,000 ที่นั่ง ความจุ: 76,212 ที่นั่ง
22 สิงหาคม 2007 20 สิงหาคม 2006
คาร์ดิฟฟ์ นิวคาสเซิลอะพอนไทน์
มิลเลนเนียมสเตเดียม เซนต์เจมส์ปาร์ก
ความจุ: 74,500 ที่นั่ง ความจุ: 52,387 ที่นั่ง
5 กุมภาพันธ์ 2009 21 สิงหาคม 2008
กลาสโกว์ คอเวนทรี
แฮมป์เดนพาร์ก สนามกีฬาริโกฮ์
ความจุ: 52,103 ที่นั่ง ความจุ: 32,500 ที่นั่ง
18 กรกฎาคม 2004

หมายเหตุ: สนามกีฬาริโกฮ์รู้จักกันในชื่อสนามกีฬานครคอเวนทรีเนื่องจากนโยบายไม่ทำให้เป็นธุรกิจ

ตารางการแข่งขัน[แก้]

GS รอบกลุ่ม QF ก่อนรองชนะเลิศ SF รองชนะเลิศ B ชิงเหรียญทองแดง F ชิงชนะเลิศ
การแข่งขัน↓/วันที่ → พ 25 พฤ 26 ศ 27 ส 28 อา 29 จ 30 อ 31 พ 1 พฤ 2 ศ 3 ส 4 อา 5 จ 6 อ 7 พ 8 พฤ 9 ศ 10 ส 11
ชาย GS GS GS QF SF B F
หญิง GS GS GS QF SF B F

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ[แก้]

ชาย[แก้]

วิธีการคัดเลือก วันแข่งขัน สนาม1 Berths[4] ทีมที่เข้ารอบ Senior team
อันดับฟีฟ่า2
เจ้าภาพ 1 ธงชาติสหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่ 43
การแข่งขันอุ่นเครื่องของเอเอฟซี 29 มีนาคม 2012 หลายแห่ง (เหย้าและเยือน) 3  เกาหลีใต้
 ญี่ปุ่น
 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
28
20
87
การแข่งขันอุ่นเครื่องของซีเอเอฟ 10 ธันวาคม 2011 ธงของประเทศโมร็อกโก โมร็อกโก 3  กาบอง
 โมร็อกโก
 อียิปต์
45
71
42
การแข่งขันอุ่นเครื่องของคอนคาแคฟ 2 เมษายน 2012  สหรัฐ 2  เม็กซิโก
 ฮอนดูรัส
19
63
การแข่งขันอุ่นเครื่องของคอนเมบอล 12 กุมภาพันธ์ 2011 ธงของประเทศเปรู เปรู 2  บราซิล
 อุรุกวัย
11
3
การแข่งขันอุ่นเครื่องของโอเอฟซี 25 มีนาคม 2012 ธงของประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 1  นิวซีแลนด์ 95
การแข่งขันอุ่นเครื่องของยูฟ่า 25 มิถุนายน 2011 ธงของประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก 3  สเปน
 สวิตเซอร์แลนด์
 เบลารุส
1
21
77
เพลย์ออฟเอเอฟซี–ซีเอเอฟ 23 เมษายน 2012 สหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่[5] 1  เซเนกัล 61
รวม 16
  • ^1 ที่ตั้งคือการแข่งขันรอบสุดท้าย รอบคัดเลือกแข่งในสนามต่าง ๆ
  • ^2 Senior ranking แสดงเปรียบเทียบเท่านั้น
  • ^3 อันดับของประเทศอังกฤษ

หญิง[แก้]

วิธีการคัดเลือก วันแข่งขัน สนาม1 Berths ทีมที่เข้ารอบ อันดับฟีฟ่า2
เจ้าภาพ 1 ธงชาติสหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่ 92
การแข่งขันอุ่นเครื่องของเอเอฟซี 11 กันยายน 2011 ธงของประเทศจีน จีน[6] 2 ธงชาติญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
ธงชาติเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ
3
8
การแข่งขันอุ่นเครื่องของซีเอเอฟ 22 ตุลาคม 2011[7] 2 ธงชาติแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
ธงชาติแคเมอรูน แคเมอรูน
61
50
การแข่งขันอุ่นเครื่องของคอนคาแคฟ 29 มกราคม 2012 ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา[8] 2 ธงชาติสหรัฐ สหรัฐ
ธงชาติแคนาดา แคนาดา
1
7
การแข่งขันอุ่นเครื่องของคอนเมบอล 21 พฏศจิกายน 2010 ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ 2 ธงชาติบราซิล บราซิล
ธงชาติโคลอมเบีย โคลอมเบีย
5
28
การแข่งขันอุ่นเครื่องของโอเอฟซี 4 เมษายน 2012 1 ธงชาตินิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 23
(ยูฟ่า) ฟุตบอลโลกหญิง 2011 17 July 2011 ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี 2 ธงชาติสวีเดน สวีเดน
ธงชาติฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
4
6
รวม 12
  • ^1 ที่ตั้งคือการแข่งขันรอบสุดท้าย รอบคัดเลือกแข่งในสนามต่าง ๆ
  • ^2 อันดับของประเทศอังกฤษ

ฟุตบอลชาย[แก้]

เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาออมแสงของอังกฤษ (UTC+1)

กลุ่มเอ[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1 ธงชาติสหราชอาณาจักร บริเตนใหญ่ (H) 3 2 1 0 5 2 +3 7 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2  เซเนกัล 3 1 2 0 4 2 +2 5
3 ธงชาติอุรุกวัย อุรุกวัย 3 1 0 2 2 4 −2 3
4  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 3 0 1 2 3 6 −3 1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า
(H) เจ้าภาพ.

กลุ่มบี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  เม็กซิโก 3 2 1 0 3 0 +3 7 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2  เกาหลีใต้ 3 1 2 0 2 1 +1 5
3  กาบอง 3 0 2 1 1 3 −2 2
4  สวิตเซอร์แลนด์ 3 0 1 2 2 4 −2 1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

กลุ่มซี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  บราซิล 3 3 0 0 9 3 +6 9 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2  อียิปต์ 3 1 1 1 6 5 +1 4
3  เบลารุส 3 1 0 2 3 6 −3 3
4  นิวซีแลนด์ 3 0 1 2 1 5 −4 1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

กลุ่มดี[แก้]

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ
1  ญี่ปุ่น 3 2 1 0 2 0 +2 7 ผ่านเข้าสู่ รอบแพ้คัดออก
2  ฮอนดูรัส 3 1 2 0 3 2 +1 5
3  โมร็อกโก 3 0 2 1 2 3 −1 2
4  สเปน 3 0 1 2 0 2 −2 1
แหล่งที่มา : ฟีฟ่า

รอบแพ้คัดออก[แก้]

 
รอบ 8 ทีมรอบรองชนะเลิศรอบชิงชนะเลิศ
 
          
 
4 สิงหาคม – คาร์ดิฟฟ์
 
 
 บริเตนใหญ่1 (4)
 
7 สิงหาคม – แมนเชสเตอร์
 
 เกาหลีใต้
(ลูกโทษ)
1 (5)
 
 เกาหลีใต้0
 
4 สิงหาคม – นิวคาสเซิล
 
 บราซิล3
 
 บราซิล3
 
11 สิงหาคม – ลอนดอน
 
 ฮอนดูรัส2
 
 บราซิล1
 
4 สิงหาคม – ลอนดอน
 
 เม็กซิโก2
 
 เม็กซิโก
(ต่อเวลา)
4
 
7 สิงหาคม – ลอนดอน
 
 เซเนกัล2
 
 เม็กซิโก3
 
4 สิงหาคม – แมนเชสเตอร์
 
 ญี่ปุ่น1 รอบชิงอันดับที่สาม
 
 ญี่ปุ่น3
 
10 สิงหาคม – คาร์ดิฟฟ์
 
 อียิปต์0
 
 เกาหลีใต้2
 
 
 ญี่ปุ่น0
 

ฟุตบอลหญิง[แก้]

เวลาที่แสดงทั้งหมด เป็นเวลาออมแสงของอังกฤษ (UTC+1)

กลุ่มอี[แก้]

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- แต้ม
ธงของประเทศบราซิล บราซิล 1 1 0 0 5 0 +5 3
 สหราชอาณาจักร 1 1 0 0 1 0 +1 3
ธงของประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ 1 0 0 1 0 1 -1 0
ธงของประเทศแคเมอรูน แคเมอรูน 1 0 0 1 0 5 -5 0

 สหราชอาณาจักร
HoughtonGoal 64'
1 - 0ธงของประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์
คาร์ดิฟฟ์
Attendance: 24,549
Referee: Kari Seitz (United States)

ธงของประเทศแคเมอรูน แคเมอรูน0 - 5ธงของประเทศบราซิล บราซิล
FrancielleGoal 7'
CostaGoal 10'
MartaGoal 73' (pen.), 88'
CristianeGoal 78'
คาร์ดิฟฟ์
Attendance: 6,298
Referee: Jenny Palmqvist (Sweden)




กลุ่มเอฟ[แก้]

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- แต้ม
ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน 1 1 0 0 4 1 +3 3
ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น 1 1 0 0 2 1 +1 3
ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา 1 0 0 1 1 2 -1 0
ธงของประเทศแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้ 1 0 0 1 1 4 +3 0

ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น
KawasumiGoal 33'
MiyamaGoal 44'
2 - 1ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา
Tancredi Goal 55'
คอเวนทรี
Referee: Kirsi Heikkinen (Finland)

ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน
FischerGoal 7'
DahlkvistGoal 20'
SchelinGoal 21',63'
4 - 1ธงของประเทศแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
ModiseGoal 60'
คอเวนทรี
Referee: Salomé di Iorio (Argentina)

ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น-ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน



ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา-ธงของประเทศสวีเดน สวีเดน

กลุ่มจี[แก้]

ทีม แข่ง ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย +/- แต้ม
 สหรัฐ 1 1 0 0 4 2 +2 3
ธงของประเทศเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ 1 1 0 0 2 0 +2 3
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส 1 0 0 1 2 4 -2 0
ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย 1 0 0 1 0 2 -2 0

 สหรัฐ
WambachGoal 19'
MorganGoal 32',66'
LloydGoal 56'
4 - 2ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ThineyGoal 12'
DelieGoal 14'
กลาสโกว์
Attendance: 15,000
Referee: Sachiko Yamagishi (Japan)

ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย0 - 2ธงของประเทศเกาหลีเหนือ เกาหลีเหนือ
Kim Song-HuiGoal 39',85
กลาสโกว์
Referee: Carol Anne Chenard (Canada)

 สหรัฐ-ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย



รอบแพ้คัดออก ฟุตบอลหญิง[แก้]

รอบก่อนรองชนะเลิศ รอบรองชนะเลิศ รอบชิงชนะเลิศ
                   
3 สิงหาคม เวลา 12.00 น. – กลาสโกว์        
 อันดับ 1 กลุ่มเอฟ  
6 สิงหาคม เวลา 17.00 น. – ลอนดอน
 อันดับ 2 กลุ่มจี    
   
3 สิงหาคม เวลา 14.30 น. – นิวคาสเซิล
       
 อันดับ 1 กลุ่มจี  
9 สิงหาคม เวลา 15.00 น. – ลอนดอน
 อันดับ 3 กลุ่มอีหรือเอฟ    
   
3 สิงหาคม เวลา 17.00 น. – คาร์ดิฟฟ์
     
 อันดับ 2 กลุ่มอี  
6 สิงหาคม เวลา 19.45 น. – แมนเชสเตอร์
 อันดับ 2 กลุ่มเอฟ    
    ชิงอันดับที่ 3
3 สิงหาคม เวลา 19.30 น. – คอเวนทรี
       
 อันดับ 1 กลุ่มอี      
 อันดับ 3 กลุ่มเอฟหรือจี        
9 สิงหาคม เวลา 19.45 น. – คอเวนทรี

รอบก่อนรองชนะเลิศ[แก้]

อันดับ 1 กลุ่มเอฟ - อันดับ 2 กลุ่มจี

อันดับ 1 กลุ่มจี - อันดับ 3 กลุ่มอีหรือเอฟ

อันดับ 2 กลุ่มอี - อันดับ 2 กลุ่มเอฟ

อันดับ 1 กลุ่มอี - อันดับ 3 กลุ่มเอฟหรือจี

รอบรองชนะเลิศ[แก้]

ผู้ชนะรอบก่อนรองชนะเลิศ 1 - ผู้ชนะรอบก่อนรองชนะเลิศ 2

ผู้ชนะรอบก่อนรองชนะเลิศ 3 - ผู้ชนะรอบก่อนรองชนะเลิศ 4

รอบชิงเหรียญทองแดง[แก้]

ผู้แพ้รอบรองชนะเลิศ 1 - ผู้แพ้รอบรองชนะเลิศ 2

รอบชิงเหรียญทอง[แก้]

ผู้ชนะรอบรองชนะเลิศ 1 - ผู้ชนะรอบรองชนะเลิศ 2

อ้างอิง[แก้]

  1. "Olympic sports: Football". London2012.com. London 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 May 2012. สืบค้นเมื่อ 2 August 2008.
  2. "GB Olympic football teams to play in Manchester, London and Cardiff". BBC Sport. British Broadcasting Corporation. 10 November 2011.
  3. "Sports & venues: Football stadia, UK-wide". London 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 May 2012. สืบค้นเมื่อ 19 August 2009.
  4. "AFC slots for Olympics approved". Asian Football Confederation.
  5. "Play-off details confirmed". FIFA. 26 January 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 February 2012. สืบค้นเมื่อ 3 February 2012.
  6. "China to host women's Olympic qualifiers". Asian Football Confederation. 3 March 2011. สืบค้นเมื่อ 10 March 2011.
  7. "Fixture change in Africa". FIFA.com. 19 August 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 18 October 2011. สืบค้นเมื่อ 23 August 2011.
  8. "Canada granted 2012 Olympic Qualifiers". CanadaSoccer.com. Canadian Soccer Association. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 11 November 2011.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Association football at the 2012 Summer Olympics