กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก
สถานะกำลังดำเนินการ
ประเภทการแข่งขันกีฬา
วันที่กลางปี
ความถี่จัดขึ้นทุก 2 ปี
ที่ตั้งหลายประเทศ
ประเดิมค.ศ. 1973 (1973)
ล่าสุด2017
จัดโดยฟีน่า

กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก (อังกฤษ: FINA World Championships หรือ World Aquatics Championships) เป็นการแข่งขันกีฬาทางน้ำซึ่งได้แก่: ว่ายน้ำ, กระโดดน้ำ, ว่ายน้ำมาราธอน, ระบำใต้น้ำ, โปโลน้ำ อยู่ภายใต้การกำกับของ สหพันธ์ว่ายน้ำระหว่างประเทศ

การแข่งขันจัดขึ้นครั้งแรกในปี ค.ศ. 1973 โดยจะจัดขึ้นทุกๆ 2 ปี

สรุปการแข่งขัน[แก้]

ครั้งที่ ปี วันที่ ประเทศเจ้าภาพ เมืองเจ้าภาพ ชาติเข้าร่วม นักกีฬา (คน) จำนวนการแข่งขัน อันดับที่ 1 อันดับที่ 2 อันดับที่ 3
1 1973 31 สิงหาคม – 9 กันยายน ยูโกสลาเวีย เบลเกรด 47 686 18 (ชาย), 19 (หญิง)  สหรัฐ ธงของสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี เยอรมนีตะวันออก ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี
2 1975 19–27 กรกฎาคม ธงของประเทศโคลอมเบีย โคลอมเบีย กาลี 39 682 18 (ชาย), 19 (หญิง)  สหรัฐ ธงของสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี เยอรมนีตะวันออก ธงของประเทศฮังการี ฮังการี
3 1978 20–28 สิงหาคม ธงของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี เยอรมนีตะวันตก เบอร์ลิน 49 828 18 (ชาย), 19 (หญิง)  สหรัฐ  สหภาพโซเวียต ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา
4 1982 29 กรกฎาคม – 8 สิงหาคม ธงของประเทศเอกวาดอร์ เอกวาดอร์ กวายากิล 52 848 18 (ชาย), 19 (หญิง)  สหรัฐ ธงของสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี เยอรมนีตะวันออก  สหภาพโซเวียต
5 1986 13–23 สิงหาคม ธงของประเทศสเปน สเปน มาดริด 34 1119 19 (ชาย), 22 (หญิง) ธงของสาธารณรัฐประชาธิปไตยเยอรมนี เยอรมนีตะวันออก  สหรัฐ ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา
6 1991 3–13 มกราคม ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย เพิร์ท 60 1142 21 (ชาย), 24 (หญิง)  สหรัฐ ธงของประเทศจีน จีน ธงของประเทศฮังการี ฮังการี
7 1994 1–11 กันยายน ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี โรม 102 1400 21 (ชาย), 24 (หญิง) ธงของประเทศจีน จีน  สหรัฐ ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย
8 1998 8–17 มกราคม ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย เพิร์ท 121 1371 24 (ชาย), 27 (หญิง), 2 (ผสม)  สหรัฐ ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
9 2001 16–29 กรกฎาคม ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น ฟูกูโอกะ 134 1498 29 (ชาย), 32 (หญิง) ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย ธงของประเทศจีน จีน  สหรัฐ
10 2003 12–27 กรกฎาคม ธงของประเทศสเปน สเปน บาร์เซโลนา 157 2015 29 (ชาย), 33 (หญิง)  สหรัฐ ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
11 2005 16–23 กรกฎาคม ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา มอนทรีออล 144 1784 29 (ชาย), 33 (หญิง)  สหรัฐ ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย ธงของประเทศจีน จีน
12 2007 18 มีนาคม – 1 เมษายน ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย เมลเบิร์น 167 2158 29 (ชาย), 36 (หญิง)  สหรัฐ ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย ธงของประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย
13 2009 17 กรกฎาคม – 2 สิงหาคม ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี โรม 185 2556 29 (ชาย), 36 (หญิง)  สหรัฐ ธงของประเทศจีน จีน ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย
14 2011 16–31 กรกฎาคม ธงของประเทศจีน จีน เซี่ยงไฮ้ 181 2220 29 (ชาย), 36 (หญิง), 1 (ผสม)  สหรัฐ ธงของประเทศจีน จีน ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย
15 2013 19 กรกฎาคม – 4 สิงหาคม ธงของประเทศสเปน สเปน บาร์เซโลนา 180 2293 30 (ชาย), 37 (หญิง), 1 (ผสม)  สหรัฐ ธงของประเทศจีน จีน ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย
16 2015 24 กรกฎาคม – 9 สิงหาคม ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย[1] คาซาน 190 2400 30 (ชาย), 37 (หญิง), 8 (ผสม) ธงของประเทศจีน จีน  สหรัฐ ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย
17 2017 30 มิถุนายน – 16 กรกฎาคม ธงของประเทศฮังการี ฮังการี[2] บูดาเปสต์ 182 2360 30 (ชาย), 37 (หญิง), 8 (ผสม)  สหรัฐ ธงของประเทศจีน จีน ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย
18 2019 12–28 กรกฎาคม ธงของประเทศเกาหลีใต้ เกาหลีใต้ ควังจู 192 2623 30 (ชาย), 38 (หญิง), 8 (ผสม) ธงของประเทศจีน จีน  สหรัฐ ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย
19 2022 18 มิถุนายน – 3 กรกฎาคม ธงของประเทศฮังการี ฮังการี[3] บูดาเปสต์ 185 2034 29 (ชาย), 37 (หญิง), 8 (ผสม)  สหรัฐ ธงของประเทศจีน จีน ธงของประเทศอิตาลี อิตาลี
20 2023 14–30 กรกฎาคม ธงของประเทศญี่ปุ่น ญี่ปุ่น[3] ฟูกูโอกะ
21 2024 2–18 กุมภาพันธ์ ธงของประเทศกาตาร์ กาตาร์[3] โดฮา
22 2025 รอประกาศ ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย[4] คาซัน
23 2027 รอประกาศ ธงของประเทศฮังการี ฮังการี[4] บูดาเปสต์

รายการแข่งขัน[แก้]

ว่ายน้ำ[แก้]

สรุปเหรียญรางวัล[แก้]

ปรับปรุงหลังจาก กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก 2022:

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1 สหรัฐ286218167671
2 จีน16410882354
3 รัสเซีย1057362240
4 ออสเตรเลีย9510679280
5 เยอรมนีตะวันออก514427122
6 อิตาลี464564155
7 ฮังการี403131102
8 เยอรมนี376267166
9 บริเตนใหญ่302751108
10 ฝรั่งเศส28332990
11 แคนาดา265060136
12 เนเธอร์แลนด์18363286
13 สวีเดน17201754
14 บราซิล17151749
15 สหภาพโซเวียต16282872
16 ญี่ปุ่น144772133
17 ยูเครน12172756
18 แอฟริกาใต้1261634
19 สเปน10352772
20 เยอรมนีตะวันตก871227
21 โปแลนด์610925
22 เดนมาร์ก48820
23 กรีซ45817
24 ซิมบับเว4509
25 เซอร์เบีย4217
26 โรมาเนีย41712
27 ฟินแลนด์3227
28 โครเอเชีย2349
29 ตูนิเซีย2248
30 ลิทัวเนีย2237
31 ยูโกสลาเวีย2136
 เบลารุส2136
33 เกาหลีใต้2125
34 เม็กซิโก181322
35 สวิตเซอร์แลนด์1517
36 นอร์เวย์1214
37 มาเลเซีย1168
38 บัลแกเรีย1146
39 คอสตาริกา1124
 ยูโกสลาเวีย /
 เซอร์เบียและมอนเตเนโกร
1124
 เกาหลีเหนือ1124
 เบลเยียม1124
43 ซูรินาม1001
 โคลอมเบีย1001
45 นิวซีแลนด์05611
46 ออสเตรีย0358
47 สโลวาเกีย0325
48 เช็กเกีย0303
49 คิวบา0112
 จาเมกา0112
 เชโกสโลวาเกีย0112
 ไอซ์แลนด์0112
53 มอนเตเนโกร0101
 เอกวาดอร์0101
55 อียิปต์0033
56 สิงคโปร์0022
 อาร์เจนตินา0022
58 ตรินิแดดและโตเบโก0011
 ปวยร์โตรีโก0011
 เวเนซุเอลา0011
รวม (60 ประเทศ)1084109210813257

อ้างอิง[แก้]

  1. UPDATE 1-Swimming-Celebrations as Kazan awarded 2015 world champs published by Reuters on 2011-07-15.
  2. "Budapest (HUN) to host FINA World Championships in 2017" (Press release). FINA. 11 มีนาคม 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 August 2015. สืบค้นเมื่อ 2015-08-31.
  3. 3.0 3.1 3.2 "Press Release | FINA announces changes to international events calendar". FINA. 7 February 2022. สืบค้นเมื่อ 7 February 2022.
  4. 4.0 4.1 "PR 59 – Kazan 2025 and Budapest 2027, hosts of the FINA showcase". FINA. 2019-07-21. สืบค้นเมื่อ 2022-02-11.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ กีฬาทางน้ำชิงแชมป์โลก