กีฬาจักรยานในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กีฬาจักรยาน
ในโอลิมปิกครั้งที่ 31
สัญลักษณ์ของกีฬาจักรยานในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016
สนามโอลิมปิกบีเอ็มเอ็กซ์เซ็นเตอร์ (บีเอ็มเอ็กซ์)
โอลิมปิกเมาน์เทนไบต์พาร์ก (เสือภูเขา)
ฟลาเมงโกพาร์ก (ถนน)
รีโอโอลิมปิกเวโลโดรม (ลู่)
วันที่6–21 สิงหาคม พ.ศ. 2559
← 2012
2020 →
กีฬาจักรยานใน
โอลิมปิกฤดูร้อน 2016
จักรยานประเภทถนน
จักรยานทางไกล   ชาย   หญิง
ไทม์ไทรอัล ชาย หญิง
จักรยานประเภทลู่
สปรินท์ ชาย หญิง
สปรินท์ทีม ชาย หญิง
คีริน ชาย หญิง
เพอร์ซูตทีม ชาย หญิง
ออมเนียม ชาย หญิง
จักรยานประเภทเสือภูเขา
ครอสคันทรี ชาย หญิง
บีเอ็มเอ็กซ์
บีเอ็มเอ็กซ์ ชาย หญิง
รอบคัดเลือก

กีฬาจักรยานในโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 เป็นการแข่งขันกีฬาจักรยานที่จะจัดขึ้นในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 2016 ที่เมืองรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6 ถึง 21 สิงหาคม ค.ศ. 2016 ครั้งนี้จักรยานถูกแบ่งการแข่งขันออกเป็น 4 ประเภท และ 18 รายการ เช่นเดียวกับกีฬาจักรยานในโอลิมปิกฤดูร้อน 2012 โดยแข่งขันภายใน 4 สนาม ดังนี้

  • สนามฟลาเมงโกพาร์ก ในศูนย์การแข่งขันกอปากาบานา เป็นสถานที่จุดเริ่ม และเส้นชัยของกีฬาจักรยาน ประเภทถนน
  • สนามรีโอโอลิมปิกเวโลโดรม ในศูนย์การแข่งขันบาร์รา เป็นสนามของกีฬาจักรยาน ประเภทลู่
  • สนามโอลิมปิกบีเอ็มเอ็กซ์เซ็นเตอร์ ในศูนย์การแข่งขันดีโอโดโร เป็นสนามของกีฬาจักรยาน ประเภทบีเอ็มเอ็กซ์
  • สนามโอลิมปิกเมาน์เทนไบต์พาร์ก ในศูนย์การแข่งขันดีโอโดโร เป็นสนามของกีฬาจักรยาน ประเภทเสือภูเขา

สนามแข่ง[แก้]

สนาม ศูนย์แข่งขัน ชนิดกีฬา วันที่ รายการ ความจุ
ฟอร์ตกอปากาบานา ศูนย์กอปากาบานา จักรยานถนน
(จักรยานทางไกล)
6–7 สิงหาคม 2 5,000 (ที่นั่ง)
ไม่จำกัด (ที่ยืน)[N 1]
ศูนย์จักรยานเสือภูเขา ศูนย์ดีโอโดโร จักรยานเสือภูเขา 20–21 สิงหาคม 2 5,000 (ที่นั่ง)
โอลิมปิกบีเอ็มเอ็กซ์เซ็นเตอร์ ศูนย์ดีโอโดโร จักรยานบีเอ็กเอ็กซ์ 17–19 สิงหาคม 2 5,000
ปงตัล ศูนย์บาร์รา จักรยานถนน
(ไทม์ไทรอัล)
10 สิงหาคม 2 5,000 (ที่นั่ง)
ไม่จำกัด (ที่ยืน)[N 1]
รีโอโอลิมปิกเวโลโดรม ศูนย์บาร์รา จักรยานลู่ 11–16 สิงหาคม 10 7,500
  1. 1.0 1.1 จะมีพื้นที่การรับชมฟรีพร้อมกับเส้นทาง

การคัดเลือก[แก้]

ประเทศที่เข้าร่วม[แก้]

บราซิลเป็นประเทศเจ้าภาพ ได้รับโควต้าโดยไม่ต้องผ่านรอบคัดเลือกใด ๆ

ตารางการแข่งขัน[แก้]

H ฮีท/รอบคัดเลือก ¼ รอบก่อนรองชนะเลิศ ½ รอบรองชนะเลิศ F รอบชิงชนะเลิศ
บีเอ็มเอ็กซ์, เสือภูเขา และ จักรยานถนน[1]
ประเภท↓/วันที่→ ส. 6 อา.7 พ. 10 ... พ.17 พฤ. 18 ศ. 19 ส. 20 อา. 21
บีเอ็มเอ็กซ์ ชาย H ¼ ½ F
บีเอ็มเอ็กซ์ หญิง H ½ F
เสือภูเขา
ครอสคันทรี ชาย F
ครอสคันทรี หญิง F
จักรยานถนน
จักรยานทางไกล ชาย F
ไทม์ไทรอัล ชาย F
จักรยานทางไกล หญิง F
ไทม์ไทรอัล หญิง F
จักรยานประเภทลู่[1]
วันที่ → พฤ. 11 ศ. 12 ส. 13 อา. 14 จ. 15 อ. 16
ประเภท ↓ E E M E E M E M E
คีลิน ชาย H ½ F
ออมเนียม ชาย SR IP ER TT FL PR
สปรินท์ ชาย H ¼ ½ F
เพอร์ซูตทีมชาย H ½ F
สปรินท์ทีมชาย H ½ F
คีลิน หญิง H ½ F
ออมเนียม ชาย SR IP ER TT FL PR
สปรินท์ หญิง H ¼ ½ F
เพอร์ซูตทีมหญิง H ½ F
สปรินท์ทีมหญิง H ½ F
M = ช่วงเช้า, E = ช่วงเย็น
FL = Flying Lap, PR = Points Race, ER = Elimination Race, IP = Individual Pursuit, SR = Scratch Race, TT = Time Trial

สรุปเหรียญ[แก้]

ตารางเหรียญ[แก้]

อันดับที่ ประเทศ ทอง เงิน ทองแดง รวม
1 สหราชอาณาจักร 6 4 2 12
2 เนเธอร์แลนด์ 2 2 1 5
3 สหรัฐ 1 2 0 3
4 เบลเยียม 1 0 1 2
เยอรมนี 1 0 1 2
อิตาลี 1 0 1 2
7 จีน 1 0 0 1
สวิตเซอร์แลนด์ 1 0 0 1
9 รัสเซีย 0 2 1 3
10 เดนมาร์ก 0 1 2 3
11 ออสเตรเลีย 0 1 1 2
12 นิวซีแลนด์ 0 1 0 1
สวีเดน 0 1 0 1
14 แคนาดา 0 0 1 1
ฝรั่งเศส 0 0 1 1
มาเลเซีย 0 0 1 1
โปแลนด์ 0 0 1 1
รวม 14 14 14 42

จักรยานประเภทถนน[แก้]

ประเภท เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
จักรยานทางไกล ชาย
รายละเอียด
เกรก ฟัน อาแฟร์มาร์ต
 ประเทศเบลเยียม
ยาคอบ ฟูกล์ซัง
 ประเทศเดนมาร์ก
ราฟัว มัยกา
 ประเทศโปแลนด์
จักรยานทางไกล หญิง
รายละเอียด
อันนา ฟัน แดร์ เบรกเคิน
 ประเทศเนเธอร์แลนด์
เอมมา ยูอันซอน
 ประเทศสวีเดน
เอลิซา ลอนโด บอร์กีนี
 ประเทศอิตาลี
ไทม์ไทรอัล ชาย
รายละเอียด
ฟาเบียน คันเซลลารา
 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ตอม ดูว์มูแล็ง
 ประเทศเนเธอร์แลนด์
คริส ฟรูม
 สหราชอาณาจักร
ไทม์ไทรอัล หญิง
รายละเอียด
คริสติน อาร์มสตรอง
 สหรัฐ
ออลกา ซาเบลินสกายา
 ประเทศรัสเซีย
อันนา ฟัน แดร์ เบรกเคิน
 ประเทศเนเธอร์แลนด์

จักรยานประเภทลู่[แก้]

ประเภท เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
คีลิน ชาย
รายละเอียด
เจสัน เคนนี
 สหราชอาณาจักร
มัตแจ็ยส์ บือคลี
 ประเทศเนเธอร์แลนด์
อาซีซุลฮัซนี อาวัง
 ประเทศมาเลเซีย
คีลิน หญิง
รายละเอียด
เอลิส ลิคต์เล
 ประเทศเนเธอร์แลนด์
เบกกี เจมส์
 สหราชอาณาจักร
แอนนา มีร์ส
 ประเทศออสเตรเลีย
ออมเนียม ชาย
รายละเอียด
เอลีอา วีเวียนี
 ประเทศอิตาลี
มาร์ก คาเวนดิช
 สหราชอาณาจักร
แลซเซ นอร์มัน แฮนเซิน
 ประเทศเดนมาร์ก
ออมเนียม หญิง
รายละเอียด
ลอรา ทรอตต์
 สหราชอาณาจักร
ซาราห์ แฮมเมอร์
 สหรัฐ
ยอลิน โดโอแร
 ประเทศเบลเยียม
เพอร์ซูตทีมชาย
รายละเอียด
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร (GBR) WR
เอ็ด แคลนซี
สตีเวน เบอร์ก
โอไวน์ ดูลล์
แบรดลีย์ วิกกินส์
 
ประเทศออสเตรเลีย ออสเตรเลีย (AUS)
อเล็กซานเดอร์ เอ็ดมอนด์สัน
แจ็ก บอบริดจ์
ไมเคิล เฮปเบิร์น
แซม เวลส์ฟอร์ด
แคลลุม สกอตสัน
ประเทศเดนมาร์ก เดนมาร์ก (DEN)
แลซเซ นอร์มัน แฮนเซิน
นีแกลส ลาร์เซิน
เฟรเดอริก แมดเซิน
กัสเปอร์ วอน ฟูลซัช
รัซมูซ คูเด
เพอร์ซูตทีมหญิง
รายละเอียด
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร (GBR) WR
เคที อาร์ชีบอลด์
ลอรา ทรอตต์
เอลีนอร์ บาร์เกอร์
โจแอนนา โรว์เซลล์
 
สหรัฐ สหรัฐ (USA)
ซาราห์ แฮมเมอร์
เคลลี คัตลิน
โคลอี ดีเกิร์ต
เจนนิเฟอร์ วาเลนตี
 
ประเทศแคนาดา แคนาดา (CAN)
อัลลีสัน เบเวริดจ์
จัสมิน แกลส์เซอร์
เคอร์สตี เลย์
จอร์เจีย ซิมเมอร์ลิง
ลอรา บราวน์
สปรินท์ ชาย
รายละเอียด
เจสัน เคนนี
 สหราชอาณาจักร
แคลลุม สกินเนอร์
 สหราชอาณาจักร
เดนิส ดมีตรีเยฟ
 ประเทศรัสเซีย
สปรินท์ หญิง
รายละเอียด
คริสตีนา โฟเกล
 ประเทศเยอรมนี
เบกกี เจมส์
 สหราชอาณาจักร
เคที มาร์ชันต์
 สหราชอาณาจักร
สปรินท์ทีมชาย
รายละเอียด
สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร (GBR) OR
ฟิลิป ฮินเดส
เจสัน เคนนี
แคลลุม สกินเนอร์
ประเทศนิวซีแลนด์ นิวซีแลนด์ (NZL)
เอ็ดดี ดอว์คินส์
อีธาน มิทเชลล์
แซม เว็บสเตอร์
ประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส (FRA)
เกรกอรี โบเฌ
มีชาเอล ดัลแมดา
ฟร็องซัว เปวิส
สปรินท์ทีมหญิง
รายละเอียด
ประเทศจีน จีน (CHN)
กง จินเจี๋ย
จาง เทียนสื่อ
ประเทศรัสเซีย รัสเซีย (RUS)
ดาเรีย ชเมเลวา
อะนัสตาซียา วอยโนวา
ประเทศเยอรมนี เยอรมนี (GER)
มีรีอัม เวลเทอ
คริสตีนา โฟเกล

จักรยานประเภทเสือภูเขา[แก้]

ประเภท เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ครอสคันทรี ชาย
รายละเอียด
นีโน ชูร์แทร์
 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ยาโรสลาฟ คุลฮาวี
 ประเทศเช็กเกีย
การ์โลส โกโลมา นีโกลัส
 ประเทศสเปน
ครอสคันทรี หญิง
รายละเอียด
เยนนี ริสซเวดส์
 ประเทศสวีเดน
มายา ววอชต์ชอฟสกา
 ประเทศโปแลนด์
แคทารีน เพนเดรล
 ประเทศแคนาดา

บีเอ็มเอ็กซ์[แก้]

ประเภท เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ชาย
รายละเอียด
คอนเนอร์ เฟิลด์ ฟิลด์ส
 สหรัฐ
เยลเล ฟัน กอร์กอม
 ประเทศเนเธอร์แลนด์
การ์โลส รามีเรซ
 ประเทศโคลอมเบีย
หญิง
รายละเอียด
มาเรียนา ปาคอง
 ประเทศโคลอมเบีย
อลิซ โพสต์
 สหรัฐ
เอสเตฟานี เอร์นันเดซ
 ประเทศเวเนซุเอลา

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 "Rio 2016: Ticket Guide – Search for Sessions". Rio 2016. สืบค้นเมื่อ 5 April 2015.

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]