การไม่ฆ่า

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การไม่ฆ่า (อังกฤษ: Nonkilling) หมายถึง การปราศจากการเอาชีวิต การขู่ฆ่า และสถานการณ์เอื้ออำนวยให้เกิดการฆ่าในสังคมมนุษยชาติ[1] ถึงแม้ว่าการใช้คำนี้ในทางวิชาการส่วนมากจะเน้นในความหมายของการไม่ฆ่ามนุษย์[2] ในบางกรณีความหมายย่อมครอบคลุมถึงการไม่ฆ่าสัตว์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆในทุกรูปแบบ ในที่นี้ความหมายชี้บ่งไปถึงการไม่ฆ่าสัตว์ตัดชีวิตซึ่งใช้มาแต่ดั้งเดิมในพุทธธรรม จะเห็นได้จากศีลข้อแรกในเบญจศีล และคำสอนทำนองเดียวกันในศาสนาสากลอื่นๆ[3] “การไม่ฆ่า” มีความหมายสำคัญเด่นชัดขึ้นเมื่อปรากฏใช้เร็วๆนี้ใน “กฎบัตรเพื่อโลกที่ปราศจากการใช้พลการความรุนแรง”[4] ซึ่งได้รับการรับรองจากการประชุมโลกครั้งที่ ๘ ของกลุ่มผู้มีเกียรติได้รับรางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ[5]

ดูเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. เกล็น ดี เพจ, รัฐศาสตร์ไม่ฆ่า, 2009; Glenn D. Paige, Nonkilling Global Political Science. Center for Global Nonkilling, 2002; 3rd ed. 2009, page 1.[1]
  2. V. K. Kool and Rita Agrawal, "The Psychology of Nonkilling", in Toward a Nonkilling Paradigm, edited by Joám Evans Pim. Honolulu: Center for Global Nonkilling, 2009 [2].
  3. See http://en.wikiversity.org/wiki/School:Nonkilling_studies#Program_on_Nonkilling_Spiritual_Traditions
  4. 8th World Summit of Nobel Peace Laureates, Charter for a World without Violence. Rome, December 15, 2007.[3] เก็บถาวร 2009-05-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  5. "To address all forms of violence we encourage scientific research in the fields of human interaction and dialogue and we invite participation from the academic, scientific and religious communities to aid us in the transition to nonviolent, and nonkilling societies".