การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1962

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การประกวดเพลงยูโรวิชันปี 1962 เป็นการประกวดครั้งแรกโดยจัดขึ้นที่เมืองลักเซมเบิร์ก ประเทศลักเซมเบิร์ก จัดขึ้นโดยสหภาพการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งยุโรป โดยมีเพลงที่เข้าประกวด 16 เพลง 16 ประเทศ โดยเพลงที่ชนะคือ Un premier amour ขับร้องโดย Isabelle Aubret ตัวแทนจากฝรั่งเศส

การออกอากาศ[แก้]

สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งชาติลักเซมเบิร์ก เป็นแม่ข่ายในการออกอากาศ โดยออกอากาศไปยังประเทศดังต่อไปนี้

ประเทศที่เข้าร่วม[แก้]

หลายเลข ประเทศ ภาษา ศิลปน เพลง คำแปลชื่อเพลงในภาษาอังกฤษ อันดับ คะแนน
01 ฟินแลนด์ ฟินแลนด์ ฟินแลนด์ Marion Rung "Tipi-tii" Chirpy chirp 7 4
02 เบลเยียม เบลเยี่ยม ฝรั่งเศส Fud Leclerc "Ton nom" Your name 13 0
03 สเปน สเปน สเปน Victor Balaguer "Llámame" Call me 13 0
04 ออสเตรีย ออสเตรีย เยอรมัน Eleonore Schwarz "Nur in der Wiener Luft" Only in the Vienna air 13 0
05 เดนมาร์ก เดนมาร์ก เดนมาร์ก Ellen Winther "Vuggevise" Lullaby 10 2
06 สวีเดน สวีเดน สวีเดน Inger Berggren "Sol och vår" Sun and spring 7 4
07 เยอรมนีตะวันตก เยอรมนี เยอรมัน Conny Froboess "Zwei kleine Italiener" Two little Italians 6 9
08 เนเธอร์แลนด์ เนเธอร์แลนด์ ดัตช์ De Spelbrekers "Katinka" 13 0
09 ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส ฝรั่งเศส Isabelle Aubret "Un premier amour" A first love 1 26
10 นอร์เวย์ นอร์เวย์ นอร์เวย์ Inger Jacobsen "Kom sol, kom regn" Come sun, come rain 10 2
11 สวิตเซอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ ฝรั่งเศส Jean Philippe "Le retour" The return 10 2
12 สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมยูโกสลาเวีย ยูโกสลาเวีย เซอร์เบีย Lola Novaković "Ne pali svetlo u sumrak"
(Не пали светло у сумрак)
Don't turn the lights on at twilight 4 10
13 สหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร อังกฤษ Ronnie Carroll "Ring-A-Ding Girl" 4 10
14 ลักเซมเบิร์ก ลักเซมเบิร์ก ฝรั่งเศส Camillo Felgen "Petit bonhomme" Little chap 3 11
15 อิตาลี อิตาลี อิตาลี Claudio Villa "Addio, addio" Goodbye, goodbye 9 3
16 โมนาโก โมนาโก ฝรั่งเศส François Deguelt "Dis rien" Say nothing 2 13

กระดานคะแนน[แก้]

กรรมการจาก
คะแนนรวม FI BE ES AT DK SE DE NL FR NO CH YU UK LU IT MC
โหวตให้ ฟินแลนด์ 4 1 3
เบลเยี่ยม 0
สเปน 0
ออสเตรีย 0
เดนมาร์ก 2 1 1
สวีเดน 4 3 1
เยอรมนี 9 2 1 2 2 2
เนเธอร์แลนด์ 0
ฝรั่งเศส 26 2 2 2 3 3 3 3 3 1 1 2 1
นอร์เวย์ 2 2
สวิตเซอร์แลนด์ 2 2
ยูโกสลาเวีย 10 1 1 2 3 3
สหราชอาณาจักร 10 3 1 2 2 2
ลักเซมเบิร์ก 11 3 3 1 1 3
อิตาลี 3 1 2
โมนาโก 13 3 1 3 1 2 3
The table is ordered by appearance

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]