กองทัพเอกวาดอร์

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
กองทัพเอกวาดอร์
Fuerzas Armadas del Ecuador
ก่อตั้งค.ศ. 1830
รูปแบบปัจจุบันค.ศ. 2000
เหล่า กองทัพบก

กองทัพเรือ

กองทัพอากาศ
กองบัญชาการกีโต
ผู้บังคับบัญชา
ผู้บังคับบัญชาสูงสุดประธานาธิบดี ราฟาเอล กอร์เรอา
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมMaría Fernanda Espinosa
เสนาธิการทหารบกพลเอก ฟาเบียน วาเรลา
กำลังพล
อายุเริ่มบรรจุ18
การเกณฑ์1 ปี (12 เดือน)
ประชากร
วัยบรรจุ
7,573,824 (2010 est) [1], อายุ 16–49
ประชากร
ฉกรรจ์
6,103,748 (2010 est) [1], อายุ 16–49
ประชากรวัยถึงขั้น
ประจำการทุกปี
299,736 (2010 est) [1]
ยอดประจำการ37,448[2]
รายจ่าย
งบประมาณUS$2,300,000,000 (FY11) [3] List of countries by military expenditures ranked 54th
ร้อยละต่อจีดีพี2.74% (FY10) [3] List of countries by military expenditures ranked 37th
อุตสาหกรรม
แหล่งผลิตนอกประเทศ สหรัฐ
ธงของประเทศฝรั่งเศส ฝรั่งเศส
ธงของประเทศเยอรมนี เยอรมนี
ธงของประเทศแคนาดา แคนาดา
ธงของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร
ธงของประเทศอิสราเอล อิสราเอล
ธงของประเทศสเปน สเปน
ธงของประเทศแอฟริกาใต้ แอฟริกาใต้
ธงของประเทศรัสเซีย รัสเซีย
ธงของประเทศอินเดีย อินเดีย
ธงของประเทศชิลี ชิลี
ธงของประเทศจีน จีน
ธงของประเทศเวเนซุเอลา เวเนซุเอลา
บทความที่เกี่ยวข้อง
ประวัติประวัติศาสตร์ทางทหารของเอกวาดอร์
ยศยศทหารในกองทัพเอกวาดอร์

กองทัพเอกวาดอร์ อยู่ภายใต้การควบคุมโดยพลเรือน โดยประธานาธิบดีใช้อำนาจผ่านรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม บุคคลสามารถเลื่อนการเกณฑ์ทหารได้ด้วยเหตุผลทางการศึกษาหรือศาสนา. กองทัพได้เข้าร่วมในการปฏิบัติการทางทหารที่สำคัญได้แก่ กรณีพิพาทชายแดนเอกวาดอร์-เปรู. เป็นจุดเริ่มต้นของ (สงครามเอกวาดอร์–เปรู, สงครามปาควิชา, สงครามเซเนปา) เข้าร่วมปฏิบัติการรักษาสันติภาพ และ กองกำลังสนับสนุนของสหประชาชาติ ตั้งแต่ ค.ศ. 1948.[ต้องการอ้างอิง]

ประวัติ[แก้]

ภารกิจ[แก้]

มีหน้าที่ในฐานะกองกำลังผสมรักษาความปลอดภัยของมัลดีฟส์, ทำหน้าที่เป็นหน่วยปฏิบัติการเฉพาะกิจในการรักษาความสงบ ป้องกันอาชญากรรม[4] พิทักษ์ผลประโยชน์ ทรัพยากรณ์ของชาติในเขตเศรษฐกิจจำเพาะ รวมถึงช่วยเหลือผู้ประสบภัยธรรมชาติ สนับสนุน ส่งเสริมการอนุรักษ์ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ[ต้องการอ้างอิง] ในภารกิจต่าง ๆ ดังนี้: "National Forestation and Ornamentation", "Lonely Tree", "Green Surveillance", "Fire Plan", "Ecuador Forest" และ "Arenillas Military Reserve".[ต้องการอ้างอิง] พื้นที่อนุรักษ์แบ่งเป็น 5 เขตความรับผิดชอบ "พื้นที่ปฏิบัติการเฉพาะกิจร่วม" หรือ Fuerzas de Tarea Conjunta, ทั้งสี่แห่งในประเทศ, หน่วยปฏิบัติการที่ 5 พื้นที่รับผิดชอบของกองทัพเรือ (หมู่เกาะกาลาปาโกส)[5][6] ดินแดนโพ้นทะเล "เปรโด วิเซนเต มัลโดนาโด" ที่ตั้งของศูนย์สำรวจและวิจัยทางชีววิทยาทหารเรือในแอนตาร์กติก.

โครงสร้าง[แก้]

งบประมาณ[แก้]

บุคลากร[แก้]

กำลังพลประจำการ[แก้]

กำลังพลสำรอง[แก้]

การศึกษา[แก้]

ยุทธภัณฑ์[แก้]

อาวุธประจำกาย[แก้]

อาวุธประจำหน่วย[แก้]

ศาลทหาร[แก้]

ความสัมพันธ์ทางทหาร[แก้]

ดูเพิ่ม[แก้]

อ้างอิง[แก้]

  1. 1.0 1.1 1.2 "Ecuador". The World Factbook. Central Intelligence Agency. 2012. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-06-12. สืบค้นเมื่อ 6 July 2012.
  2. "Chapter 15 - Ecuador". A Comparative Atlas of Defence in Latin America (2008 ed.). Red de Seguridad y Defensa de América Latina (Security and Defense Network of Latin America). pp. 180–193. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 6 May 2009.
  3. 3.0 3.1 Glickhouse, Rachel (7 June 2012). "Explainer: Defense Spending in Latin America". AS/CoA website. Americas Society / Council of the Americas. สืบค้นเมื่อ 6 July 2012. Last year, Ecuador spent $2.3 billion on the military. In the region, Ecuador spends the highest percent of GDP on the military alone: 2.74 percent in 2010[ลิงก์เสีย]
  4. "Armed forces (Ecuador) - Sentinel Security Assessment - South America". Janes. สืบค้นเมื่อ 28 July 2010.
  5. "Se divide al país en cinco áreas". Hoy.com.ec. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-09-27. สืบค้นเมื่อ 28 July 2010.
  6. "FFAA presentan nuevo plan de defensa interna - Diario HOY | Noticias del Ecuador y del Mundo - Hoy Online". Hoy.com.ec. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-05-16. สืบค้นเมื่อ 28 July 2010.

หนังสืออ่านเพิ่ม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

แม่แบบ:เอกวาดอร์ แม่แบบ:กองทัพเอกวาดอร์