ข้ามไปเนื้อหา

สไมโลดอน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(เปลี่ยนทางจาก เสือเขี้ยวดาบ)
สไมโลดอน
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: สมัยไพลสโตซีนตอนต้น ถึง สมัยโฮโลซีนตอนต้น 2.5–0.01Ma
โครงกระดูกของS. fatalisที่ พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์ธรรมชาติแห่งชาติ, วอชิงตัน ดี.ซี.
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Carnivora
วงศ์: Felidae
วงศ์ย่อย: Machairodontinae
เผ่า: Smilodontini
สกุล: Smilodon
Lund, 1842
ชนิดต้นแบบ
Smilodon populator
Lund, 1842
สายพันธุ์อื่น ๆ
  • S. fatalis
    Leidy, 1869
  • S. gracilis
    Cope, 1880
ชื่อพ้อง
ชื่อพ้องสกุล
  • Munifelis
    Muñis, 1845
  • Trucifelis
    Leidy, 1868
  • Smilodontopsis
    Brown, 1908
  • Prosmilodon
    Rusconi, 1929
  • Smilodontidion
    Kraglievich, 1948
ชื่อพ้องสายพันธุ์
  • S. populator:
    • Munifelis bonaerensis
      Muñis, 1845
    • Smilodon blainvillii
      Desmarest, 1860
    • Machaerodus bonaerensis
      Burmeister, 1867
    • Machaerodus necator
      Gervais, 1878
    • Smilodon ensenadensis
      Ameghino, 1888
    • Machaerodus ensenadensis
      Ameghino, 1889
    • Smilodon crucians
      Ameghino, 1904
    • Smilodon bonaerensis
      Ameghino, 1907
    • Smilodon neogaeus ensenadensis
      Boule & Thévenin, 1920
    • Smilodon (Prosmilodon) ensenadensis
      Rusconi, 1929
    • Smilodon neogaeus
      de Paula Couto, 1940
    • Smilodon necator
      de Paula Couto, 1940
    • Smilodon (Prosmilodon) ensenadensis ferox
      Kraglievich, 1947
    • Smilodon (Prosmilodon) ensenadensis minor
      Kraglievich, 1948
    • Smilodontidion riggii
      Kraglievich, 1948
    • Machaerodus neogaeus
      Pictet, 1953
    • Felis smilodon
      Desmarest, 1953
    • Smilodon populator populator
      de Paula Couto, 1955
  • S. fatalis:
    • Felis (Trucifelis) fatalis
      Leidy, 1868
    • Trucifelis fatalis
      Leidy, 1869
    • Machaerodus fatalis
      Lydekker, 1884
    • Drepanodon floridanus
      Leidy, 1889
    • Machaerodus floridanus
      Leidy, 1889
    • Uncia mercerii
      Cope, 1895
    • Smilodon floridanus
      Adams, 1896
    • Machaerodus (Smilodon) mercerii
      Cope, 1899
    • Smilodon californicus
      Bovard, 1907
    • Smilodontopsis troglodytes
      Brown, 1908
    • Smilodontopsis conardi
      Brown, 1908
    • Smilodontopsis mercerii
      Brown, 1908
    • Smilodon nebraskensis
      Matthew, 1918
    • Machaerodus mercerii
      Matthew, 1918
    • Smilodon (Trucifelis) californicus
      Merriam & Stock, 1932
    • Smilodon (Trucifelis) fatalis
      Merriam & Stock, 1932
    • Smilodon (Trucifelis) nebraskensis
      Merriam & Stock, 1932
    • Smilodon (Trucifelis) californicus brevipes
      Merriam & Stock, 1932
    • Smilodon trinitensis
      Slaughter, 1960
  • S. gracilis:
    • Machaerodus (Smilodon) gracilis
      Cope, 1899
    • Smilodon (Smilodontopsis) gracilis
      Merriam & Stock, 1932
    • Megantereon gracilis
      Broom & Schepers 1946
    • Ischyrosmilus gracilis
      Churcher, 1984
    • Smilodontopsis gracilis
      Berta, 1995

สไมโลดอน (อังกฤษ: Smilodon) หรือ เสือเขี้ยวดาบ จัดอยู่ในเผ่า Smilodontini ในวงศ์ย่อย Machairodontinae ของวงศ์เสือและแมว (Felidae) สไมโลดอนเป็นสัตว์ตระกูลแมวที่มีเขี้ยวยาวที่สุดในโลก เมื่อกัดเข้าไปที่คอเหยื่อ จะทำให้เหยื่อมีโอกาสตายสูง แต่อย่างไรก็ตามสไมโลดอนก็ยังมีขนาดที่เล็กกว่านักล่าตระกูลแมวใหญ่ทั่วไปเนื่องจากมันมีขนาดเท่ากันกับแมวในปัจจุบัน แต่ขนาดที่เล็กก็ยังทำให้มันวิ่งได้เร็วและคล่องแคล่วว่องไวเหมือนกับสิงโตอเมริกา (Panthera atrox) หลังจากการสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์และโลกเข้าสู่ยุคของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ก็ได้มีสัตว์นักล่าสายพันธุ์ต่าง ๆ ปรากฏขึ้นมามากมาย โดยเสือเขี้ยวดาบถือเป็นหนึ่งในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมนักล่าที่โดดเด่นและอันตรายที่สุดชนิดหนึ่งที่เคยอยู่บนโลกใบนี้

ลักษณะเด่น[แก้]

เขี้ยวคู่บนที่งอกยาวออกจนพ้นริมฝีปากจะยื่นยาวและแบนเรียบโค้งไปทางด้านหลังคล้ายกับใบกริช[1] เขี้ยวที่ยาวนี้ช่วยให้พวกมันสามารถจัดการกับสัตว์กินพืชหนังหนาในตระกูลเดียวกับแรดและหมู ซึ่งเริ่มกระจายพันธุ์กว้างขวางในสมัยไมโอซีน

ถิ่นกำเนิด[แก้]

ทวีปอเมริกาเหนือและกระจายพันธุ์เข้าสู่อเมริกาใต้หลังการเกิดขึ้นของแผ่นดินที่เชื่อมสองทวีปเข้าด้วยกันในสมัยไพลสโตซีนตอนกลาง[2][3][4] โดยสไมโลดอนมีช่วงขาค่อนข้างสั้น แข็งแรง เขี้ยวยาวกว่า 25 ซม. และอาจมีน้ำหนักตัวเกือบ 200 กิโลกรัม ลักษณะโครงสร้างร่างกายที่หนาและบึกบึน บ่งบอกว่าไม่ใช่นักล่าที่รวดเร็วมากนัก นักบรรพชีวินวิทยาเชื่อว่า สไมโลดอนน่าจะล่าเหยื่อขนาดใหญ่ที่หนังหนาและเคลื่อนไหวช้า อย่างพวกมาสโตดอน ไบซันยักษ์ สลอธยักษ์ แมมมอธโคลอมเบีย รวมทั้งมาครอคีเนียที่ดูคล้ายอูฐผสมกับสมเสร็จ และทอคโซดอนซึ่งมีรูปร่างหน้าตาและขนาดใกล้เคียงกับฮิปโปโปเตมัส เป็นอาหาร

สายวิวัฒนาการ[แก้]

เสือเขี้ยวดาบสืบเชื้อสายมาจาก โปรไอลูรัส (Proailurus) สัตว์ตระกูลแมวชนิดแรกของโลกที่มีวิวัฒนาการขึ้นเมื่อ 30 ล้านปีก่อน ในสมัยโอลิโกซีน โดยพวกเสือเขี้ยวดาบได้แยกสายวิวัฒนาการของพวกมันเมื่อราว 15 ล้านปีก่อน ในสมัยไมโอซีนตอนกลาง[5] สายพันธุ์เกี่ยวเนื่องต่าง ๆ ในอเมริกามีหลากหลายสายพันธุ์เช่น โฮโมเทอเรียม สิงโตอเมริกา เสือซิคิมิต้า เสือชีตาห์อเมริกา ในปัจจุบันสายพันธุ์ที่ใกล้ชิดมากที่สุดอาจเป็นเสือลายเมฆ (Neofelis) หรือสิงโตแอฟริกา ดีเอ็นเอที่รักษาไว้อยู่ที่ระดับ 3/5 สัตว์ที่อุ้มบุญได้น่าจะเป็นสิงโต ความเหมาะสมในการอุ้มบุญ 3/5 หรือเหมาะสมพอประมาณ

Felidae

Proailurus




Pseudaelurus




Pantherinae

Panthera (เสือโคร่ง, สิงโต, จากัวร์, และ เสือดาว)


Felinae

Caracal




Leopardus (ocelot และวงศ์วาน)




Felis (แมวบ้านและวงศ์วาน)




Herpailurus (jaguarundi)




Miracinonyx (ชีตาห์อเมริกา)



Puma (คูการ์)








Machairodontinae

Dinofelis





Nimravides




Machairodus




Homotherium



Xenosmilus







Paramachairodus




Megantereon




Smilodon gracilis




Smilodon populator



Smilodon fatalis












อ้างอิง[แก้]

  1. Antón 2013, pp. 176–216.
  2. Kurtén, B.; Werdelin, L. (1990). "Relationships between North and South American Smilodon". Journal of Vertebrate Paleontology. 10 (2): 158–169. doi:10.1080/02724634.1990.10011804. JSTOR 4523312.
  3. Rincón, A.; Prevosti, F.; Parra, G. (2011). "New saber-toothed cat records (Felidae: Machairodontinae) for the Pleistocene of Venezuela, and the Great American Biotic Interchange". Journal of Vertebrate Paleontology. 31 (2): 468–478. doi:10.1080/02724634.2011.550366. JSTOR 25835839. S2CID 129693331.
  4. Turner, A.; Antón, M. (1997). The Big Cats and Their Fossil Relatives: An Illustrated Guide to Their Evolution and Natural History. Columbia University Press. pp. 57–58, 67–68. ISBN 978-0-231-10229-2. OCLC 34283113.
  5. Antón 2013, pp. 108–154.

บรรณานุกรม[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น[แก้]

  • ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ Smilodon ที่วิกิสปีชีส์